คุณภาพผู้เรียนอยู่ในระดับที่ยังไม่น่า พึงพอใจ - ความสามารถและทักษะ - คุณลักษณะพื้นฐานที่จำเป็น ความเปลี่ยนแปลงและก้าวหน้าของ สังคมโลกและ ความซับซ้อนของบริบททางสังคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ด้านบริหารงานวิชาการ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
สภาพที่มุ่งหวัง (45 จังหวัด)
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การพัฒนาโรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษา
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
สรุปความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์โรงเรียน
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณภาพผู้เรียนอยู่ในระดับที่ยังไม่น่า พึงพอใจ - ความสามารถและทักษะ - คุณลักษณะพื้นฐานที่จำเป็น ความเปลี่ยนแปลงและก้าวหน้าของ สังคมโลกและ ความซับซ้อนของบริบททางสังคม ความคาดหวังคุณภาพผู้เรียนตามแนว ทางการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่ สอง ( พ. ศ )

คุณภาพในตัวผู้เรียนที่มีความ ครอบคลุม ในด้านความสามารถและทักษะ และด้านคุณลักษณะที่จะช่วย เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณภาพ บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร

ป. ๑ - ๓ ป. ๔ - ๖ ม. ๑ - ๓ ม. ๔ - ๖

บทบาทของ หน่วยงาน เพื่อการขับเคลื่อน จุดเน้นสู่การพัฒนา คุณภาพผู้เรียน

ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มขีดความสามารถในการ เรียนรู้ โดยเน้นความสำคัญ ของทักษะจำเป็นพื้นฐานตามจุดเน้น ที่ส่งผลต่อ ความสำเร็จในการเรียนรู้ของผู้เรียน ในแต่ละช่วงวัย ยุทธศาสตร์ที่ 2 กระตุ้น เร่งรัด ส่งเสริมสนับสนุน การนำจุดเน้นไปสู่ การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมทุก รูปแบบ ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความพร้อมให้ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ในการนำจุดเน้นสู่การปฏิบัติ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความเข้มแข็งของการ กำกับ ติดตาม และประเมินผล ให้เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนา ผู้เรียนตามจุดเน้น

ยุทธศาสต ร์ที่ 1 ยุทธศาสต ร์ที่ 2 ยุทธศาสต ร์ที่ 3 ยุทธศา สตร์ โครงการ ขับเคลื่อน หลักสูตร การ จัด การเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน สู่การเพิ่ม คุณภาพ ผู้เรียน โครงการ ขับเคลื่อน หลักสูตร การ จัด การเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผล และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน สู่การเพิ่ม คุณภาพ ผู้เรียน โครงการ / กิจกรรม 1. โครงการ ประชา สัมพันธ์การ พัฒนา ผู้เรียนตาม จุดเน้น 2. โครงการ ปรับปรุง บริหาร งบประมาณ 1. โครงการ ประชา สัมพันธ์การ พัฒนา ผู้เรียนตาม จุดเน้น 2. โครงการ ปรับปรุง บริหาร งบประมาณ โครงการ พัฒนา บุคลากร  ผู้บริหาร  ครูและ บุคลากร ทาง การศึกษา  ผู้ปกครอง ชุมชน โครงการ พัฒนา บุคลากร  ผู้บริหาร  ครูและ บุคลากร ทาง การศึกษา  ผู้ปกครอง ชุมชน นักเรียนทุกคน มี ความสามารถ ทักษะ และ คุณลักษณะ ตามจุดเน้นแต่ละช่วงวัย เป้าหม าย 1. ร้อยละของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี คุณภาพตามจุดเน้น 2. ระดับความสำเร็จของการนำจุดเน้นในการพัฒนา ผู้เรียนสู่การปฏิบัติ 3. ระดับความสำเร็จของสถานศึกษาที่จัดการจัดการ เรียนรู้ได้สำเร็จตามจุดเน้น 4. ระดับความสำเร็จของเขตพื้นที่การศึกษาในการ ยกระดับคุณภาพผู้เรียนได้ตามจุดเน้น 1. ร้อยละของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี คุณภาพตามจุดเน้น 2. ระดับความสำเร็จของการนำจุดเน้นในการพัฒนา ผู้เรียนสู่การปฏิบัติ 3. ระดับความสำเร็จของสถานศึกษาที่จัดการจัดการ เรียนรู้ได้สำเร็จตามจุดเน้น 4. ระดับความสำเร็จของเขตพื้นที่การศึกษาในการ ยกระดับคุณภาพผู้เรียนได้ตามจุดเน้น ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดภาพ ความสำเร็จระดับ โรงเรียน ภาคเรียนที่ 2/2553 ภาคเรียนที่ 2/2554 ภาคเรียนที่ 1/2555 ภาคเรียนที่ 2/2555 ระยะที่ 1 เริ่มต้น ค้นวิเคราะห์ 6 ตัวชี้วัด ระยะที่ 2 บ่มเพาะ ประสบการณ์ 6 ตัวชี้วัด 4 ตัวชี้วัด ระยะที่ 4 นำสู่ วิถีคุณภาพ 4 ตัวชี้วัด ระยะที่ 5 มี วัฒนธรรม การ เรียน รู้ใหม่ 6 ตัวชี้วั ด ภาคเรียนที่ 1/2554

ตัวชี้วัดภาพ ความสำเร็จระดับ โรงเรียน ระยะ ที่ 1 ภาค เรียนที่ 2/2553 ภาคเรียนที่ 1/2554 ภาคเรียนที่ 2/2554 ภาคเรียนที่ 1/2555 ภาคเรียนที่ 2/2555 ผลของการดำเนินงาน 1. มีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล ครบถ้วน พร้อมใช้ 2. มีแผนพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้นที่ ชัดเจน ปฏิบัติได้ 3. มีฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทั้งในและ นอกห้องเรียน เพียงพอ 4. มีตารางเรียนที่ยืดหยุ่นตามจุดเน้น 5. มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอก ห้องเรียนโดยมี มีกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของเวลาเรียน 6. มีเครื่องมือวัดและประเมินผลที่ หลากหลาย ครอบคลุมตามจุดเน้น

ตัวชี้วัดภาพ ความสำเร็จระดับ โรงเรียน ระยะ ที่ 2 ภาค เรียนที่ 1/2554 ภาคเรียนที่ 2/2553 ภาคเรียนที่ 1/2554 ภาคเรียนที่ 2/2554 ภาคเรียนที่ 1/2555 ภาคเรียนที่ 2/2555 ผลของการดำเนินงาน 1. ผู้เรียนได้สำรวจ สืบค้น ทำโครงงาน โครงการ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอก ห้องเรียน 2. ครูใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอก ห้องเรียนอย่างคุ้มค่า 3. จัดบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งใน และนอกห้องเรียน 4. ชุมชนเข้าใจ ร่วมมือ สนับสนุน กิจกรรมการเรียนรู้ 5. ครูพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ / สื่ออย่างมี ประสิทธิภาพ 6. มีการนำผลการพัฒนาผู้เรียน ตาม จุดเน้นมาแลกเปลี่ยน เรียนรู้

ตัวชี้วัดภาพ ความสำเร็จระดับ โรงเรียน ระยะ ที่ 3 ภาค เรียนที่ 2/2554 ภาคเรียนที่ 2/2553 ภาคเรียนที่ 1/2554 ภาคเรียนที่ 2/2554 ภาคเรียนที่ 1/2555 ภาคเรียนที่ 2/2555 ผลของการดำเนินงาน 1. มีการนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาใช้ในการ ปรับปรุงกิจกรรม การพัฒนาผู้เรียน 2. มีผลการวิจัยและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่อง 3. มีรายงานผลความก้าวหน้าในการพัฒนาผู้เรียน 4. มีการสร้างเครือข่าย / แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ตัวชี้วัดภาพ ความสำเร็จระดับ โรงเรียน ระยะ ที่ 4 ภาค เรียนที่ 1/2555 ภาคเรียนที่ 2/2553 ภาคเรียนที่ 1/2554 ภาคเรียนที่ 2/2554 ภาคเรียนที่ 1/2555 ภาคเรียนที่ 2/2555 ผลของการดำเนินงาน 1. มีนวัตกรรมการบริหารเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น 2. มีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามจุดเน้น 3. มีเครื่องมือวัด และประเมินผลการพัฒนาผู้เรียนที่มี คุณภาพ 4. มีการเผยแพร่การวิจัยและผลการพัฒนาผู้เรียน

ตัวชี้วัดภาพ ความสำเร็จระดับ โรงเรียน ระยะ ที่ 5 ภาค เรียนที่ 2/2555 ภาคเรียนที่ 2/2553 ภาคเรียนที่ 1/2554 ภาคเรียนที่ 2/2554 ภาคเรียนที่ 1/2555 ภาคเรียนที่ 2/2555 ผลของการดำเนินงาน 1. ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข มี ความสามารถ ทักษะและคุณลักษณะตาม จุดเน้น 2. มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ใหม่ 3. ครูเป็นครูมืออาชีพ 4. โรงเรียนมีการจัดการความรู้ 5. มีเครือข่ายร่วมพัฒนาที่ เข้มแข็ง 6. สาธารณชนยอมรับ และมีความ พึงพอใจ