การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทาง การศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครู ผู้วิจัย
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
จำเริญ ติ่งต้อย วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
นางสาวดาราพร รังรักษ์
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาสถิติเบื้องต้นเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็น เบื้องต้น Development of Computer Assisted Instruction for Introduction to.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวราตรี สมความคิด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรี ย่าน.

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
นำเสนอผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
วิทยาลัยเทคโนโลยีเกษมสันต์บริหารธุรกิจ
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทาง การศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทาง การศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี นายสัมฤทธิ์ แสงทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง

ส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการพัฒนาวัสดุ อุปกรณ์มากกว่าการนำเนื้อหาสาระในสื่อเทคโนโลยี และสารสนเทศไปใช้ในการเรียน การสอน และการ พัฒนาผู้สอนให้มีความรู้ความสามารถเพียงพอในการ นำเทคโนโลยีมาใช้ ในการพัฒนาสื่อการเรียนการ สอนและจัดกระบวนการเรียนรู้ ครูและนักเรียนนำ ความรู้ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปใช้ใน กระบวนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยตนเอง น้อย ประกอบกับสถานศึกษามีจำนวนคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สำหรับสื่อไม่เพียงพอ ล้าสมัย รวมทั้งครู ยังไม่สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ จัดการเรียนการสอนได้อย่างแท้จริงและผู้เรียนไม่ได้ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ประกอบกับ สถานศึกษา บางแห่งยังขาดสื่อที่ทันสมัยและมี คุณภาพ ทำให้ไม่เพียงพอต่อการใช้เพื่อศึกษาค้นคว้า หาความรู้ด้วยตนเองของครูและผู้เรียน ปัญหาการวิจัย

1. เพื่อการนำแนวความคิดใหม่ๆ ความคิดที่แตกต่าง ในการสร้างนวัตกรรม การศึกษาและเทคโนโลยีทางการศึกษา ทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษาวิทยาลัย เทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้าน โป่ง จังหวัดราชบุรี 2. เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้สอนและ บุคลากรทางการศึกษาที่จะพัฒนาศักยภาพ ในการสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทางการศึกษาทางด้านสื่อการสอน กรณีศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วัตถุประสงค์การวิจัย

กระบวนการเรียนการ สอนที่ส่งเสริมให้เกิด การมีส่วนร่วมของ นักเรียนในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของ นักเรียน - ด้านการเรียนและการสอบ - ด้านความกระตือรือร้นต่อการ เรียนการสอน - ด้านการพัฒนาแนวคิดในการ ประยุกต์ใช้บทเรียนกับสภาพ ปัญหาทางสังคม ภาพกรอบแนวความคิดใน การวิจัย ( ร้อยโทฐนัส มานุวงศ์. 2550: 14) ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม กรอบแนวคิดในการวิจัย

ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชายานยนต์ จำนวน 49 คน วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้าน โป่ง กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียน ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชายาน ยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ตอนเรียนวิชา คณิตศาสตร์ช่างยนต์ โดยมีจำนวนนักเรียน ทั้งสิ้น 17 คน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร กลุ่ม ตัวอย่าง

ผลวิเคราะห์ เลขที่ คะแนนสอบ จำนวน 20 ข้อ คะแนนเต็ม 20 คะแนน คะแนนก่อนเรียน (Pretest) คะแนนหลังเรียน (Posttest) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

ผลการประเมินก่อนเรียน ผู้เรียนสอบผ่านได้คะแนนเกิน ครึ่ง จำนวน = 0 คน ผู้เรียนสอบไม่ผ่านได้คะแนนไม่ถึงครึ่ง จำนวน = 14 คน ผู้เรียนไม่มาสอบเพราะขาดเรียน จำนวน = 3 คน ค่าเฉลี่ยของการทำแบบทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ 5.18 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทำแบบทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ 3.13 ผลการประเมินหลังเรียน ผู้เรียนสอบผ่านได้คะแนนเกิน ครึ่ง จำนวน = 11 คน ผู้เรียนสอบไม่ผ่านได้คะแนนไม่ถึงครึ่ง จำนวน = 2 คน ผู้เรียนไม่มาสอบเพราะขาดเรียน จำนวน = 4 คน ค่าเฉลี่ยของการทำแบบทดสอบหลังเรียน เท่ากับ 9.12 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการทาแบบทดสอบหลังเรียน เท่ากับ 5.99 ผลวิเคราะห์

ผลการประเมินคะแนนจาก แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่าผู้เรียนทำคะแนนสอบได้คะแนนดี ขึ้น แสดงว่าสื่อประสมประกอบการเรียน การสอนในหน่วยเรียนนี้สามารถพัฒนา ประสิทธิภาพทางการเรียนผ่านนวัตกรรม การเรียนรู้ของผู้เรียนได้ดีขึ้น เป็นไป ตามคำนิยามของ คำว่า “ การสร้างนวัตกรรมการศึกษาและ เทคโนโลยีทางการศึกษาทางด้านสื่อ การสอน ” ผลวิเคราะห์

นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้น ปีที่ 3 สาขาวิชายานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโก บ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัด ราชบุรี ตอนเรียนวิชาคณิตศาสตร์ช่างยนต์ โดยมีจำนวนนักเรียน ทั้งสิ้น 17 คน มีคะแนน ดีขึ้น และสามารถทำงานที่ได้รับมอบหมาย เสร็จตามกำหนดเวลา ตลอดจนสามารถนำสื่อ ประสมกลับไปทบทวนภายหลังได้ ดังนั้น ครูผู้สอนจึงควรพัฒนาสื่อประสมเพื่อนำมาใช้ ประกอบการเรียนการสอนให้ครบทุกหน่วย เรียน ข้อเสนอแนะ

ผู้วิจัยพบว่าครูและนักเรียนนำความรู้ด้าน เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไปใช้ในกระบวนการ เรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยตนเองน้อย ประกอบกับสถานศึกษามีจำนวนคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์สำหรับสื่อไม่เพียงพอ ล้าสมัย รวมทั้งครู ยังไม่สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ จัดการเรียนการสอนได้อย่างแท้จริงและผู้เรียน ไม่ได้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้วิจัยจึงได้นำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่าผู้เรียนทำคะแนนสอบได้คะแนนดีขึ้น แสดง ว่าสื่อประสมประกอบการเรียนการสอนในหน่วย เรียนนี้สามารถพัฒนาประสิทธิภาพทางการเรียน ผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ดีขึ้น ผลกระทบ