การคำนวณอัตรากำลัง (Work Load)
เป็นโครงการพัฒนาคุณภาพ จัดทำโดย : คณะกรรมการ TQA หมวด 5 และ คณะกรรมการ HRD
ความสำคัญ การกำหนดกรอบอัตรากำลังเป็น กระบวนการจัดการทรัพยากร มนุษย์ให้ ตอบสนองสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ ของ รพ. รพ. มีความจำเป็นจะต้องมีบุคลากรเพียง พอที่จะปฏิบัติ พันธกิจให้สำเร็จและบรรลุ วิสัยทัศน์ได้ ต้องสรรหาบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและสมรรถนะที่สอดคล้อง กับการทำงานใน พันธกิจของตน
ปัญหาที่พบ หน่วยงานใน รพ. ค่ายฯ ยังไม่เคยมี การวิเคราะห์อัตรากำลังที่ถูกต้อง และชัดเจน ทำให้ไม่ทราบว่ามีอัตรากำลังขาด, เหมาะสมหรืออัตรากำลังเกิน
จุดมุ่งหมาย / เป้าหมาย / ประโยชน์ ที่จะได้รับ การวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง หน. หน่วยงานมีความรู้ในการคำนวณ อัตรากำลัง เพื่อให้ รพ. มีแนวทางในการพิจารณากรอบ อัตรากำลังที่เป็นระบบ และมีความคงเส้นคงวา มากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ มุ่งเน้นให้ รพ. พิจารณาการกำหนดตำแหน่งที่ เหมาะสม ( Right Jobs ) ไม่มุ่งเน้นในการเพิ่มเกลี่ยหรือลดจำนวนกรอบ อัตรากำลัง ผู้บริหารและคณะกรรมการ สามารถนำข้อมูล มาวางแผนการจัดการบุคลากรภายใน รพ. ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
กลุ่มวิชาชีพมีดังนี้ วิชาชีพพยาบาล : กองผู้ป่วยนอก, กองผู้ป่วยใน วิชาชีพเภสัชกร : กองเภสัชกรรม วิชาชีพทันตแพทย์ : กองทันตกรรม สหวิชาชีพ : กองสนับสนุนการรักษาพยาบาล ( แผนกพยาธิวิทยา, แผนกรังสีกรรม และ แผนกกายภาพบำบัด ) พ. ต. หญิง เบญจวรรณ์ ลอศิริกุล เป็น ผู้รับผิดชอบ กลุ่มวิชาชีพ
กลุ่มธุรการมีดังนี้ ทุกหน่วยงานในกองบริหาร กองประกันสุขภาพ งานจ่ายกลาง งานศูนย์บริการผ้าและซักรีด กองร้อย พล. สร. รพ. ค่ายฯ พ. ต. หญิง เพียงฤทัย ศรีโรจน์ เป็นผู้รับผิดชอบ กลุ่มธุรการ
การกำหนดกรอบอัตรากำลัง 6 วิธีดังต่อไปนี้ 1. การวิเคราะห์ยุทธศาสตร์และภารกิจ องค์กร ( Strategic Objected ) 2. การวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายของ กำลังคน ( Supply pressure ) 3. การวิเคราะห์ข้อมูลจากความคิดเห็นแบบ 360 องศา และประเด็นต่าง ( 360 Degree + Issue )
4. การวิเคราะห์กระบวนการและเวลา ที่ใช้ ( Full Tim Equivalent ) “FTE” 5. การวิเคราะห์ผลงานที่ผ่านมาเพื่อ ประกอบการกำหนดกรอบ อัตรากำลัง ( Driver ) 6. การพิจารณาเปรียบเทียบกับ กรอบอัตราขององค์การอื่น ( Benchmark ) การกำหนดกรอบอัตรากำลัง
ระยะเวลาดำเนินการ
ระยะเวลาดำเนินการ Cont.
กรอบแนวความคิดที่จะใช้ในการ กำหนดอัตรากำลัง
กรอบแนวความคิดการวิเคราะห์ อัตรากำลัง
ตัวอย่างแนวคิดการวิเคราะห์ภารกิจและ การตรวจสอบการใช้กำลังคน
วิธีคำนวณอัตรากำลังใน หน่วยงานโดยใช้ FTE 1. คำนวณจากสถิติปริมาณงาน (Task Analysis and Work Load Analysis) - คิดในรอบ 1 ปี - กำหนดข้าราชการมีเวลาทำงาน 6 ชั่วโมง / วัน : 240 วัน / ปี คิดเป็น 240*6 = 1,440 ชั่วโมง / คน / ปี หรือ 86,400 นาที / คน / ปี 2. คำนวณจากหน้าที่รับผิดชอบ (Function) - วิธีนี้ไม่นิยมใช้คำนวณ 3. คำนวณโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานที่วางไว้แล้ว (Work Standard) เช่น ตำแหน่งนายแพทย์ จำนวนนายแพทย์ = (( จำนวนผู้ป่วยนอกแต่ละ ปี /2500)+( จำนวนเตียง /15))/2
วิธีคำนวณอัตรากำลังในหน่วยงาน โดยใช้ FTE (Cont.) ตำแหน่งเภสัชกร จำนวนเภสัชกร = ( ผู้ป่วยนอก ( คน / ปี )+ ผู้ป่วยใน ( คน / ปี ))/36,000 ตำแหน่งทันตแพทย์ จำนวนทันตแพทย์ = ( ผู้ป่วยทันตกรรม ( ราย / วัน ))/16
ตัวอย่างการคำนวณ ( ตัวอย่างที่ 1)
ตัวอย่างการคำนวณ ( ตัวอย่างที่ 2)
ตัวอย่างการคำนวณ ( ตัวอย่างที่ 3)
ตัวอย่างการคำนวณ ( ตัวอย่างที่ 4)
แบบฟอร์มรายละเอียดการปฏิบัติงาน เพื่อคำนวณอัตรากำลัง
จำนวนชิ้นงานแต่ละประเภท ทั้งปีมีดังนี้ 1. พันธกิจ, ภารกิจงานในหน้าที่ รับผิดชอบ 2. งานตามแผนยุทธศาสตร์ 3. งานที่ได้รับมอบหมาย เพิ่มเติม