KM Refreshing Course การจัดการความรู้ กรมชลประทาน
ทำไมต้องจัดการความรู้ ? เมื่อคนเกษียณอายุหรือลาออกมักมีผลกระทบ กับงาน องค์ความรู้ที่มีในองค์กรไม่ได้ถูกนำมาใช้ แลกเปลี่ยน ต่อยอดความรู้ใหม่ ข้อมูลสารสนเทศท่วมท้น นำมาใช้ประโยชน์ได้ น้อย มีการสร้าง แลกเปลี่ยน ประยุกต์ใช้ความรู้ไม่ เป็นระบบ การตัดสินใจมักจะไม่ได้ใช้ความรู้ที่ดีที่สุดที่มี อยู่ในองค์กร มีผู้ทรงความรู้มากแต่ไม่สนใจในการเพิ่มและ แบ่งปันความรู้
“ ความรู้ คือ อำนาจ ”
ประเด็นในการถ่ายทอด แนวคิดของการจัดการความรู้ เครื่องมือการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ กรมชลประทาน ประโยชน์ของการจัดการความรู้
แนวคิดของการจัดการความรู้ โลก Kujiro Nonaka, Hirotaka Takeuchi เขียน หนังสือ The Knowledge Creating company
แนวคิดของการจัดการความรู้ ( ต่อ ) ไทย - พ. ร. ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร จัดการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA)
เครื่องมือการจัดการ ความรู้ AAR CoPs, Story Telling, Best Practice Forum Mentoring System Center of Excellence other
กระบวนการจัดการความรู้ ( ก. พ. ร.) 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning)
กระบวนการจัดการความรู้ 1. การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. การสื่อสาร 3. กระบวนการและเครื่องมือ 4. การเรียนรู้ 5. การวัดผล 6. การยกย่อง ชมเชย และการให้รางวัล
การจัดการความรู้กรม ชลประทาน 2548 เริ่มทำ KM โดย คณะทำง านกรม 2558 ทบทวน KM และสร้าง เพิ่มเติม 2555 แต่งตั้งคณะทำงาน ระดับกรมและสร้าง เครือข่ายทั่วทั้ง องค์กร 2555 เป็นหน่วยงานนำร่อง การประเมิน KM ของ ก. พ. ร. (KMA)
การจัดการความรู้ กรม ชลประทาน ( ต่อ ) วิสัยทัศน์การจัดการความรู้กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการความรู้สู่องค์กรแห่งการ เรียนรู้ ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ 1. พัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้ด้านการจัดการ ความรู้ สร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ 2. บูรณาการกระบวนการจัดการความรู้ให้ สอดคล้องกับการทางาน 3. พัฒนาองค์กรความรู้และสร้างนวัตกรรม สนับสนุนภารกิจกรมชลประทาน 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ ฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาเครือข่ายการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ กรม ชลประทาน ( ต่อ ) วัฒนธรรมการจัดการความรู้ 1. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. คิดริเริ่มสร้างสรรค์
การจัดการความรู้ กรม ชลประทาน ( ต่อ ) วิสัยทัศน์การ จัดการความรู้ การบริหาร จัดการองค์ ความรู้ สนับสนุน ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ การจัดการ ความรู้ สร้าง บรรยากาศ การเรียนรู้ สร้าง วัฒนธรรมการ เรียนรู้ การบริหาร การ เปลี่ยนแปลง องค์กรแห่ง การเรียนรู้
ประโยชน์ของการจัดการ ความรู้ 1. เพิ่มประสิทธิภาพคน หน่วยงานและองค์กร 2. ป้องกันการสูญหายของความรู้ ภูมิปัญญา 3. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและการอยู่รอด 4. เพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจ 5. เพิ่มมูลค่า คุณค่า นวัตกรรมในองค์กร 6. เปลี่ยนวัฒนธรรมแนวดิ่งเป็นแนวราบ 7. เพิ่มความกลมเกลียวในหน่วยงาน 8. เกิดการพัฒนาคนและนำองค์กรไปสู่องค์กร แห่งการเรียนรู้
ขอบคุณครับ