โดย ทวนชัย ลมูลสว่าง บรรยาย กรมพลศึกษา 54
วัตถุประ สงค์ เพื่อตระหนักถึงความสำคัญของศูนย์การเรียนรู้ เพื่อร่วมกันสร้างแนวคิดการบริหารศูนย์การเรียนรู้ให้แก่ประชาชน
สภาพปัจจุบันและปัญหา 1. ใช้ที่ว่าการอำเภอเป็นศูนย์การเรียนรู้กีฬา 2. บริเวณเนื้อที่ที่ว่าการอำเภอมีจำกัด จัดทำ เป็นศูนย์ไม่ได้ 3. ต้องอยู่ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่น 4. ขาดเทคโนโลยี 5. ขาดสื่อวัสดุ / อุปกรณ์ 6. ไม่สามารถบริการศูนย์การเรียนรู้ฯ ตาม มาตรฐานที่กำหนด
1. จ. พลศึกษา บริหารงานแบบศูนย์การ เรียนรู้เคลื่อนที่ 2. อาศัย หน่วยงานราชการ เอกชน ที่มี ความพร้อมด้าน สถานกีฬา จัดกิจกรรม 3. ยึดการประสานความร่วมมือ การ บริหารงานแบบมีส่วนร่วม 4. สนับสนุนทรัพยากร บุคลากร วัสดุ งบประมาณ การบริหารจัดการ 5. ยกย่อง เชิดชู ผู้ทำคุณประโยชน์
ศูน ย์ มี ดี ทำ ให้มี ทำ ให้ดี ทำ ให้ ดีกว่ า
รูปแบบของศูนย์การเรียนรู้ 1. ศูนย์การเรียนรู้ แบบถาวร 2. ศูนย์การเรียนรู้ แบบ เคลื่อนที่
1. สำนักงานศูนย์ บริเวณภายนอก - สนาม - ลานเอนกประสงค์ บริเวณภายใน - ห้องทำงาน เทคโนโลยี - ห้องประชุม - ห้องสมุด คู่มือ เอกสาร ตำรา - ห้องปฏิบัติการ
ศูนย์การเรียนรู้แบบ ถาวร ( ต่อ ) 2. โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการบริหารงาน โครงสร้างการบริหารบุคลากร 3. คน ( ผู้บริหาร + เจ้าหน้าที่ + คณะกรรมการ ) 4. แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม 5. ศูนย์ข้อมูล 6. การบริหารงาน
1. สถานกีฬา นันทนาการ ที่ดำเนินการ ภายในอำเภอ สถานศึกษา ( สนามกีฬา โรงยิม สระ ว่ายน้ำ ฯลฯ ) สำนักงาน ( ลานกีฬา ฯลฯ ) ศูนย์บริหารกาย สวนสาธารณะ สวนสุขภาพ ฯลฯ
2. กิจกรรมที่จัดดำเนินการ ออกกำลังกาย ฝึกซ้อม ฝึกสอน การแสดง ประกวด แข่งขัน
3. การบริหารงานศูนย์การเรียนรู้ สำรวจ สถานกีฬาที่มีอยู่ภายในเขต พื้นที่อำเภอ ประสานความร่วมมือ หน่วยงานขอ ใช้สถานกีฬา เชิญผู้บริหารและเจ้าหน้าที่เป็น คณะกรรมการ จัดประชุมทำแผ่นส่งเสริมกีฬา นันทนาการร่วมกัน จัดทำปฏิทินส่งเสริมตลอดปี ให้การสนับสนุนทรัพยากรบุคลากร อุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรม ยกย่อง เชิดชู เมื่องานสำเร็จ รายงานผล
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11 ( พ. ศ ) ส่งเสริมการ เรียนรู้ ตลอดชีวิต พิพิธภั ณฑ์ ศูนย์ การ เรียนรู้ ห้องสมุ ด ศูนย์ กีฬา ศูนย์ ทดลอง ของส่วน ราชการ