ศึกษาการบริหารจัดการ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนประภัสสรวิทยาชลบุรี กุลนิษฐ์ ศิลป์อุดม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ชื่อเรื่อง สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครู ผู้วิจัย
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
ผู้วิจัย นางบุญนภัส รินทร์คำ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีราชา.
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )

. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศึกษาการบริหารจัดการ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนประภัสสรวิทยาชลบุรี กุลนิษฐ์ ศิลป์อุดม

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาการบริหารจัดการระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนประภัสสรวิทยา

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเป้าหมาย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ ในโรงเรียนประภัสสรวิทยาโดยมีผู้บริหารสถานศึกษา (ผู้อำนวยการ) จำนวน 1 คน ผู้ช่วยผู้บริหาร(ผู้ช่วยผู้อำนวยการ) จำนวน 2 คน ครูผู้สอน จำนวน 52 คน เจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน รวม 65 คน (ที่มา: ฝ่ายวิชาการโรงเรียนประภัสสรวิทยา 2556)

ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาการปฏิบัติงานของครูที่ปรึกษาใน การดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนประภัสสรวิทยา ครั้งนี้ผู้วิจัยได้ นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง ที่ศึกษา โดยการหาค่าร้อยละและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 2 วิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 5 ด้าน คือ การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การคัดกรอง นักเรียน โดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จำแนกเป็นราย ข้อและรายด้าน โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างครูโรงเรียนประภัสสรวิทยา

ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละจากกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาจำแนกตามเพศ

จากตารางที่ 1 ผู้ตอบแบบตอบถามทั้งหมด 65 คน เมื่อจำแนก ตามเพศ พบว่าส่วนใหญ่ร้อยละ76.9 เป็นเพศหญิงร้อยละ 23.1 เป็นเพศ ชาย เมื่อจำแนกตามอายุพบว่าส่วนใหญ่อายุ ปีมีจำนวน 32 คนคิด เป็นร้อยละ 49.2 รองลงมา ปี 19 คน คิดเป็นร้อยละ 29 มากกว่า 45 ปี 12 คน คิดเป็นร้อยละ ต่ำกว่า 25 ปี 2 คน คิดเป็นร้อยละ 3.1 เมื่อ จำแนกตามวุฒิการศึกษา พบว่าระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี 5 คนคิด เป็นร้อยละ 7.7 ระดับการศึกษาปริญญาตรี 56 คน คิดเป็นร้อยละ 86.2 ระดับการศึกษาปริญญาโท 2 คน คิดเป็นร้อยละ 3.1 ระดับการศึกษา ปริญญาเอก 2 คน คิดเป็นร้อยละ 3.1 เมื่อจำแนกตามตำแหน่งการ ปฏิบัติงานพบว่าผู้บริหาร 1คน คิดเป็นร้อยละ 1.5 ผู้ช่วยผู้บริหาร 2 คน คิดเป็นร้อยละ 3.1 ครูผู้สอน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 80.0 เจ้าหน้าที่ 10 คน คิดเป็นร้อยละ 15.4

ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนประภัสสรวิทยา ชลบุรีตามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบตอบถาม จำแนกเป็นรายด้านและในภาพรวมทั้งหมด 5 ด้าน

5. สรุปผลการวิจัย 1. ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลจากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ของ โรงเรียนประภัสสรวิทยาเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพ เนื่องจากจะต้องนำ ข้อมูลไปใช้ในการดำเนินงานสู่กระบวนการในชั้นต่อไป ซึ่งครูที่ปรึกษา จะต้องเป็นหลักในการดำเนินงาน สอดคล้องกับบุญหนา ศรีลาดเลา (2546) ได้ทำการวิจับเรื่องการพัฒนาดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนแดนดงพิทยาคม พบว่า ครูที่ปรึกษานักเรียนเป็นบุคลากรหลัก ในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนส่งผลให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้แสดงออกตามสภาพ

2. ด้านการคัดกรองนักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการคัดกรอง นักเรียนด้วยวิธีการหลายรูปแบบโดยครูที่ปรึกษา และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องมีการใช้เครื่องมือคัดกรองที่มีคุณภาพและมีความครอบคลุม ในข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวนักเรียนสามารถคัดกรองนักเรียนได้ ตรงตามข้อมูลของแต่ละคน และนำข้อมูลมาจัดกลุ่มนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มที่มีปัญหา 3. ด้านการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน โรงเรียนได้ดำเนินการ โดยจัดให้มีกิจกรรมโครงการต่างๆ ในการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน ให้เป็นคนที่มีความรู้ความสามารถและดำรงตนอยู่ในสังคมอย่างมร ความสุข มีศักยภาพในความเป็นผู้นำและผู้ตาม และได้แสดงออกตาม ความรู้ ความสามารถ และตามแววอัจฉริยะของตนเอง

4. ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียน โรงเรียนได้ ดำเนินการกับนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่มีปัญหา มีการประสานงานกับ ฝ่ายวิชาการในการแก้ปัญหาของนักเรียนด้านการเรียน ครูมีความรู้และ ทักษะในการให้คำปรึกษาตามหลักจิตวิทยาวัยรุ่น มีความจริงใจในการ ช่วย แก้ปัญหาของนักเรียนทุกคน 5. ด้านการส่งต่อนักเรียน มีการการประสานงานกับงานแนะ แนวและฝ่ายปกครองเพื่อการส่งต่อนักเรียน และติดตามผลอย่าง ต่อเนื่องขณะที่นักเรียนอยู่ในการดูแลช่วยเหลือของผู้เชี่ยวชาญ รวมถึง การดำเนินการส่งต่อนักเรียนโดยไม่ทำให้นักเรียนเกิดความรู้สึกว่า ตนเองแปลกแยก ตามกระบวนการส่งต่อนักเรียนโรงเรียนประภัสสร วิทยาได้ดำเนินการตามขั้นตอนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาของ นักเรียนที่มีปัญหา

ข้อเสนอแนะ จากผลการศึกษา ผู้จัดขอเสนอแนวทางเพื่อพัฒนาและส่งเสริม การบริหารงานระบบ การดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนประภัสสร วิทยา 5 ด้านดังนี้ 1. ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ผลการศึกษาอยู่ในระดับ มาก มีสิ่งที่ควรปรับปรุงคือ ครูที่ปรึกษาควรจัดทำระบบข้อมูลพื้นฐาน ของนักเรียนให้ครบถ้วนและสร้างสัมพันธภาพระหว่างบ้านกับโรงเรียน ควรเยี่ยมบ้านและติดต่อประสานงานกับผู้ปกครองของนักเรียน 2. ด้านการคัดกรองนักเรียน ผลการศึกษาอยู่ในระดับมาก มีสิ่ง ที่ควรปรับปรุงคือผู้บริหารครูที่ปรึกษาพร้อมด้วยคณะครูผู้ที่เกี่ยวข้อง ควรมีการประชุมวางแผนงานพิจารณาแนวทางการกำหนดเกณฑ์ในการ คัดกรอง

3. ด้านการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน ผลการศึกษาอยู่ในระดับมาก ที่สุด มีสิ่งที่ควรปรับปรุงคือ จัดกิจกรรมควรส่งเสริมกิจกรรมที่นักเรียน สามารถแสดงออกได้ตามความรู้ความสามารถด้วยความสมัครใจ มีกิจกรรม ที่หลากหลาย 4. ด้านการป้องกันและช่วยเหลือนักเรียน ผลการศึกษาอยู่ในระดับ มาก มีสิ่งที่ควรปรับปรุงคือ ครูที่ปรึกษาควรเอาใจใส่ดูแลนักเรียนโดยทั่วถึง เท่าเทียมกันทุกคนครูต้องคนที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์และเข้าถึงนักเรียน เข้าใจปัญหาของนักเรียนในแต่ละช่วงวัยเป็นอย่างดีที่สำคัญครูที่ปรึกษาหรือ ครูประจำชั้นต้องติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรียน กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหาอย่าง ใกล้ชิดและต่อเนื่อง 5. ด้านการส่งต่อนักเรียน ผลการศึกษาอยู่ในระดับมาก มีสิ่งที่ควร ปรับปรุงคือ โรงเรียนประภัสสรวิทยาไม่เคยมีนักเรียนที่ต้องส่งต่อภายนอก แต่ควรมีการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆภายนอก

3. ควรศึกษาวิจัยเจตคติของผู้ปกครองที่มีต่อการบริหารจัดการระบบ การดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงและพัฒนาการบริหาร จัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะเพื่อการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ชุมชนกับการบริหารจัดการระบบการ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนประภัสสรวิทยา เพื่อเป็นแนวทางในการ บริหารจัดการต่อไป 2. ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่สามารถ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียน ประภัสสรวิทยาต่อไป