ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
รศ.ดร.จิตตินันท์ เดชะคุปต์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
ร่างหลักสูตร โครงการหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
2019/4/15 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการ โครงการเมืองเกษตรสีเขียวในระดับพื้นที่ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 15/04/62.
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
(Code of Ethics of Teaching Profession)
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในโครงการเส้นทางการ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในจังหวัด นครสวรรค์ พัชรี ดินฟ้า, ไชยา อู๋ชนะภัย, สุนันทา เทียมคำ สาขาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ๑.เพื่อศึกษาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนบริเวณบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ในการพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ๒.เพื่อวิเคราะห์รูปแบบเส้นทางท่องเที่ยวเชิง นิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ใน การพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มี ศักยภาพ ๑.เพื่อศึกษาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของ ชุมชนบริเวณบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ในการพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ๒.เพื่อวิเคราะห์รูปแบบเส้นทางท่องเที่ยวเชิง นิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ใน การพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มี ศักยภาพ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด คณะผู้วิจัยได้ กำหนดขอบเขตของการศึกษาวิจัยไว้ ดังนี้ ๑. ขอบเขตด้านพื้นที่ ได้แก่ เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึง บอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ๒. ขอบเขตด้านเนื้อหา ๒. ๑ ศึกษาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ และนำเสนอรูปแบบทางเลือกในการพัฒนา เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ๒. ๒ ศึกษาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของชุมชนบน เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ โดยจำแนกออกเป็น ๕ ประเด็นดังนี้  การมีส่วนร่วมด้านการคิด วางแผนและตัดสินใจ  การมีส่วนร่วมด้านการลงทุน  การมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติ  การมีส่วนร่วมด้านการติดตามและประเมินผล  การมีส่วนร่วมด้านการรับผลประโยชน์ และ ผลกระทบ ๓. ขอบเขตด้านประชากร สำหรับการศึกษาครั้งนี้ได้กำหนดกลุ่ม ประชากร เป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้ ๓. ๑ กลุ่มของชุมชนบนเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ของของบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ๓. ๒กลุ่มเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวกับโครงการ เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของของบึงบอระเพ็ดจังหวัด นครสวรรค์ ๓. ๓กลุ่มบริษัทนำเที่ยวที่เปิดให้บริการนำเที่ยวตาม เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ ๓. ๔กลุ่มประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณบึงบอระเพ็ด ที่ มีส่วนเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ได้แก่ ร้านขายของฝากของที่ ระลึก ผู้ประกอบการโรงแรมและที่พัก การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด คณะผู้วิจัยได้ กำหนดขอบเขตของการศึกษาวิจัยไว้ ดังนี้ ๑. ขอบเขตด้านพื้นที่ ได้แก่ เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึง บอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ๒. ขอบเขตด้านเนื้อหา ๒. ๑ ศึกษาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ และนำเสนอรูปแบบทางเลือกในการพัฒนา เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ๒. ๒ ศึกษาศักยภาพและการมีส่วนร่วมของชุมชนบน เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ โดยจำแนกออกเป็น ๕ ประเด็นดังนี้  การมีส่วนร่วมด้านการคิด วางแผนและตัดสินใจ  การมีส่วนร่วมด้านการลงทุน  การมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติ  การมีส่วนร่วมด้านการติดตามและประเมินผล  การมีส่วนร่วมด้านการรับผลประโยชน์ และ ผลกระทบ ๓. ขอบเขตด้านประชากร สำหรับการศึกษาครั้งนี้ได้กำหนดกลุ่ม ประชากร เป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้ ๓. ๑ กลุ่มของชุมชนบนเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ของของบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ๓. ๒กลุ่มเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวกับโครงการ เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของของบึงบอระเพ็ดจังหวัด นครสวรรค์ ๓. ๓กลุ่มบริษัทนำเที่ยวที่เปิดให้บริการนำเที่ยวตาม เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ ๓. ๔กลุ่มประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณบึงบอระเพ็ด ที่ มีส่วนเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ได้แก่ ร้านขายของฝากของที่ ระลึก ผู้ประกอบการโรงแรมและที่พัก ๑.ชุมชนมีส่วนร่วมในเส้นทางการท่องเที่ยวเชิง นิเวศใน ๕ ประเด็นในระดับน้อยมาก ส่วนใหญ่ จะเป็นการวางแผนการท่องเที่ยวโดย หน่วยงานของรัฐ อันได้แก่ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนครสวรรค์ การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย โดยชาวบ้านมีส่วนร่วมเพียงเข้า มาค้าขายในแหล่งท่องเที่ยว รับจ้างขับเรือชม ระบบนิเวศรอบบึงบอระเพ็ด เท่านั้น ๒.รูปแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายใน บึงบอระเพ็ดแบ่งออกเป็น ๓ ส่วนท่องเที่ยว หลักได้แก่ ๑. ส่วนอุทยานนกน้ำ ๒. ส่วนศูนย์ ประมงน้ำจืด และ ๓. ส่วนพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ รายละเอียดแต่ละส่วนแสดงดังภาพประกอบ ๑.ชุมชนมีส่วนร่วมในเส้นทางการท่องเที่ยวเชิง นิเวศใน ๕ ประเด็นในระดับน้อยมาก ส่วนใหญ่ จะเป็นการวางแผนการท่องเที่ยวโดย หน่วยงานของรัฐ อันได้แก่ องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดนครสวรรค์ การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย โดยชาวบ้านมีส่วนร่วมเพียงเข้า มาค้าขายในแหล่งท่องเที่ยว รับจ้างขับเรือชม ระบบนิเวศรอบบึงบอระเพ็ด เท่านั้น ๒.รูปแบบเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศภายใน บึงบอระเพ็ดแบ่งออกเป็น ๓ ส่วนท่องเที่ยว หลักได้แก่ ๑. ส่วนอุทยานนกน้ำ ๒. ส่วนศูนย์ ประมงน้ำจืด และ ๓. ส่วนพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ รายละเอียดแต่ละส่วนแสดงดังภาพประกอบ คณะผู้วิจัยใครขอขอบคุณสำนักงานการ อุดมศึกษา ผู้ให้ทุนหลักในการศึกษาวิจัยและ ชุมชนโดยรอบบึงบอระเพ็ด รวมถึงแหล่งข้อมูล ต่าง ๆ ซึ่งล้วนเป็นประโยชน์และมีส่วนทำให้ งานวิจัยเล่มนี้สำเร็จลุล่วงลงได้ด้วยดี ๑.จัดทำเอกสาร หนังสือเพื่อเป็นความรู้เรื่อง เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ๒.จัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมกับชุมชน สร้าง มัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพื่อให้ความรู้กับ นักท่องเที่ยวในแต่ละจุดของบึงบอระเพ็ด ๓.จัดตั้งกลุ่มหรือชมรมที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม วิถี ของชุมชนโดยรอบ บึงบอระเพ็ด โดย หน่วยงานรัฐเป็นที่ปรึกษาและสนับสนุน เพื่อ ความเข้มแข็งและมีศักยภาพของชุมชน ๑.จัดทำเอกสาร หนังสือเพื่อเป็นความรู้เรื่อง เส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศของบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ ๒.จัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมกับชุมชน สร้าง มัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพื่อให้ความรู้กับ นักท่องเที่ยวในแต่ละจุดของบึงบอระเพ็ด ๓.จัดตั้งกลุ่มหรือชมรมที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม วิถี ของชุมชนโดยรอบ บึงบอระเพ็ด โดย หน่วยงานรัฐเป็นที่ปรึกษาและสนับสนุน เพื่อ ความเข้มแข็งและมีศักยภาพของชุมชน ๑.ศึกษาปัญหา และผลกระทบหลังจากการ พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบึง บอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อ เปรียบเทียบศักยภาพของชุมชนก่อนและหลัง การพัฒนา ๒.ศึกษาพฤติกรรมและความต้องการของ นักท่องเที่ยวในบึงบอระเพ็ด เพื่อนำผลไป พัฒนาให้ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ๑.ศึกษาปัญหา และผลกระทบหลังจากการ พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบึง บอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อ เปรียบเทียบศักยภาพของชุมชนก่อนและหลัง การพัฒนา ๒.ศึกษาพฤติกรรมและความต้องการของ นักท่องเที่ยวในบึงบอระเพ็ด เพื่อนำผลไป พัฒนาให้ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น