บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Advertisements

Chapter 2 Process Pisit Nakjai.
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ชิ้นงานที่ 1 ณัฐนันท์ สัญวงษ์ ความหมายและคุณค่าของ การทำโครงงาน คอมพิวเตอร์
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer programming
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
วัตถุประสงค์ 1. แสดงรายการของโปรแกรม ที่และสถานการทำงานของ โปรแกรม 2. แสดงรายการบริการที่มี บน ระบบปฏิบัติการ 3. แสดงกราฟการใช้ ตัว ประมวลผล 4. แสดงกราฟการทำงานการ.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
สมองคน (Human Brain) Human Brain ความจำ จินตนาการและความสร้างสรรค์
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี บริการ ) โครงการอบรมพัฒนาบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ และ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี
แบบทดสอบ ก่อนเรียน – หลัง เรียน (Pre – Test) กลับ หน้า หลัก เริ่มทำ ข้อสอบ.
องค์ประกอบฮาร์ดแวร์ คุณลักษณะเฉพาะของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยชุดคำสั่งหรือโปรแกรม สามารถจำข้อมูลหรือชุดคำสั่งได้ ทำงานได้อย่างถูกต้อง ทำงานได้อย่างรวดเร็ว.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
บทที่ 5 ระบบหน่วยความจำ. หน่วยความจำเป็นแหล่งจัดเก็บข้อมูล และ เป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับประมวลผล หน่วยความจำหลัก (RAM) ต้องทำงาน ด้วยการใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยงตลอดเวลา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. เนื้อหาหลัก คอมพิวเตอร์คืออะไร คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
ฐานข้อมูล.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
บทที่ 1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
บทที่ 2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การสร้างสรรค์และผลิตเครื่องมือการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กร 1
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
โครงสร้างคอมพิวเตอร์ (Computer Organization)
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์

ฟังก์ชันการทำงานของ คอมพิวเตอร์ Data Move ment Appar atus Contr ol Mech anism Data Proce ssing Facilit y Data Stora ge Facili ty

ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย องค์ประกอบต่าง ๆ ที่ต้องทำงาน ร่วมกัน และประสานงานเพื่อทำงาน ตามคำสั่งที่ป้อนเข้ามาในระบบ ดังนั้น ระบบคอมพิวเตอร์จึงต้องมีการจัดแบ่ง โครงสร้างและฟังก์ชันการทำงาน เพื่อให้ส่วนต่าง ๆ สามารถทำงานใน หน้าที่ของตนและติดต่อกับส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โครงสร้าง คือองค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีความข้อง เกี่ยวกันและกัน ฟังก์ชัน คือการปฏิบัติงานขององค์ประกอบใน แต่ละส่วนของโครงสร้างพื้นฐานทาง คอมพิวเตอร์จะประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก ๆ ด้วยกัน คือ 1. การประมวลผลข้อมูล (Data processing) 2. การจัดเก็บข้อมูล (Data storage) 3. การเคลื่อนย้ายข้อมูล (Data movement) 4. การควบคุม (Control)

การทำงานของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้ คือ (a) การเคลื่อนย้ายข้อมูล (b) การเคลื่อนย้ายข้อมูลและ การจัดเก็บ (c) การโปรเซสข้อมูล (d) การจัดเก็บข้อมูลและ ส่งไปยังแหล่งภายนอก

โครงสร้างภายในคอมพิวเตอร์ จะ ประกอบด้วยโครงสร้างหลัก ๆ ทั้งสิ้น 4 องค์ประกอบด้วยกัน คือ 1. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) 2. หน่วยความจำหลัก (Main Memory) 3. อินพุต / เอาต์พุต (Input/Output : I/O) 4. หน่วยประสานการทำงานในระบบ (System Interconnection )

โครงสร้างภายใน คอมพิวเตอร์ Computer Inp ut/ Out put Mai n Me mor y Centr al Proces sing Unit Syste m Intercon nection

โครงสร้างของซีพียู ประกอบด้วย 1. หน่วยควบคุม (Control Unit) 2. หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU) 3. รีจิสเตอร์ (Register) 4. ตัวติดต่อประสานงานของซีพียู (CPU Interconnection)

แนวคิดในการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน มี 2 รูปแบบด้วยกัน คือ 1. การโปรแกรมในฮาร์ดแวร์ มีความรวดเร็วสูง แต่ขาดความ ยืดหยุ่น และหากมีการเปลี่ยนแปลงต้อง เปลี่ยนทั้งวงจร 2. การโปรแกรมด้วยซอฟต์แวร์ มีความยืดหยุ่นสูง แต่ทำงานช้า

การประมวลผลตามคำสั่งในโปรแกรม ประกอบด้วยขั้นตอนการประมวลผล ดังนี้ 1. การเฟตช์ (Fetch) 2. การแปลความหมาย (Decode) 3. การเอ็กซคิวต์ (Execute) 4. การจัดเก็บ (Store) การอินเตอร์รัปต์ (Interrupt) คือใน ระหว่างที่ซีพียูประมวลผลอยู่ อุปกรณ์ตัวอื่น ๆ มีความจำเป็นต้อง ขอใช้บริการซีพียู