ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ ปีงบประมาณ 2558 นพ. ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ ( ทรงคุณวุฒิ )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
โดย นายแพทย์สุเทพ วัชรปิยานันทน์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 12 ประธานคณะกรรมการ กำหนดแผนและติดตามผลการตรวจราชการ ด้านพัฒนาระบบบริหารจัดการ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
มีระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชน เข้าถึงด้วยความมั่นใจ.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
บสนุนการจัดบริการ การจัดบริการ สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558 คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 วันที่ 20 กุมภาพันธ์
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
FAI60 อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จบรรลุเป้าหมาย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การบริหารเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ ปีงบประมาณ 2558 นพ. ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ ( ทรงคุณวุฒิ )

คณะกรรมการ นายเกียรติภูมิ วงศ์รจิต ผู้ตรวจราชการกระทรวง ประธาน นายไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์สาธารณสุขนิเทศก์ รองประธาน นางสาวยุพิน ตันวิสุทธิ์กลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบ คุณธรรม นางอมรรัตน์ พีระพลกลุ่มประกันสุขภาพ นายเสมอ กาฬภักดีกลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบ คุณธรรม นางสาวศิญาภัสส์ จำรัส อภิวัฒน์ กลุ่มประกันสุขภาพ นายเกตุแก้ว แก้วใสกลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบ คุณธรรม นางนฬญา ดำรงคะวิริยะพันธ์กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. นางสาวสุณีพร แดงภูมิกลุ่มเสริมสร้างวินัยและระบบ คุณธรรม นางกฤตยา กัลอาจกลุ่มตรวจสอบภายใน สป. นางกัลยา เนติประวัติสถาบันพระบรมราชชนกนางสาวกาญจน์นภา แก้วคงกลุ่มตรวจสอบภายใน สป. นส.อลิสา ศิริเวชสุนทรสถาบันพระบรมราชชนกนางดารนี คำพีระสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ นส.วราภร จันทร์โชติสถาบันพระบรมราชชนกนางสุภวาร มะนิมนากรสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ นางภัทร์อนงค์ จองศิริเลิศสำนักบริหารการสาธารณสุขนางวิระมณ สุริยะไชยศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต นส.ไพทิพย์ เหลืองเรืองรองสำนักบริหารการสาธารณสุขนส. สุชาฎา วรินทร์เวชศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต นางพจอาภา ธนาบุญพัสกลุ่มคลังและพัสดุนางสาวลาวัลย์ สุขุมวาท สำนักตรวจและประเมินผล นางธิติภัทร คูหา สำนักตรวจและประเมินผลนส. อังคณา จรรยากุลวงศ์ สำนักตรวจและประเมินผล นส.สุภาวดี เพ็ชร์สว่าง สำนักตรวจและประเมินผล นส. สิรินันท์ พานพิศ สำนักตรวจและประเมินผล นางอรชร วิชัยคำ สำนักตรวจและประเมินผล

ประเด็นตรวจราชการ 1. การบริหารการเงินการคลัง 2.การบริหารจัดการด้านยา และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา 3. ธรรมาภิบาล : 1)การส่งเสริมป้องกัน การ 1)การส่งเสริมป้องกัน การทุจริต ประพฤติมิชอบ 2)การป้องปรามตรวจสอบการ 2)การป้องปรามตรวจสอบการทุจริต ประพฤติมิชอบ 3) การแก้ไขปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบ

1.การแก้ปัญหาและ ป้องกันการขาด สภาพคล่องทาง การเงิน 1. การบริหารการเงินการคลัง 2.การควบคุมต้นทุน ให้เหมาะสม “ประสิทธิภาพการบริหาร การเงินสามารถควบคุม ปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่” “หน่วยบริการในพื้นที่มี ต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน เกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับ บริการ ในระดับผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน รวมทุกสิทธิ ต่อหน่วยน้ำหนัก”

1.1 การแก้ปัญหาและป้องกันการขาดสภาพคล่องทางการเงิน ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ ดำเนินงาน การตรวจ ติดตาม ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุม ปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ 1.การจัดสรรงบค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการ 2.การพัฒนา ควบคุมกำกับให้หน่วยบริการมีการบริหาร การเงินการคลัง จนไม่ประสบปัญหาทางการเงิน รพศ. รพท. และ รพช. ทุกแห่ง 1.หน่วยบริการจะต้องมีแผนการดำเนินงานเพื่อปรับ ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน 2.พัฒนาข้อมูลบัญชีให้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือ 1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ปัญหาการเงินของ รพ. 2.มีแผนควบคุมค่าใช้จ่าย/เพิ่มรายได้ (ผ่านจังหวัด,เขตอนุมัติ) 3.มีการพัฒนาบัญชีผ่านเกณฑ์คุณภาพ 4.มีการรายงานการเงินและตัวชี้วัดให้ผู้บริหารทราบทุกเดือน 5.มีการประเมินคุณภาพการบริหารการเงินการคลังโดยใช้ เกณฑ์ประเมิน FAI

1.2 การควบคุมต้นทุนให้เหมาะสม ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ การตรวจ ติดตาม หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์ เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการในระดับผู้ป่วยนอก (OPD) และผู้ป่วยใน (IPD) รวมทุกสิทธิ (total cost) ต่อ หน่วยน้ำหนัก รพศ.รพท. และ รพช. ทุกแห่ง 1.ส่งข้อมูลบริการService data ครบถ้วน ทันเวลา ทุกเดือน 2.การจัดการระบบบริการเพื่อให้มีต้นทุนบริการลดลง 3.การควบคุมค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในหมวดต่างๆ ได้แก่ Labor cost,Material cost, Capital cost,Operating cost 1.มีผู้รับผิดชอบการตรวจสอบข้อมูลบริการ Service Data สำหรับทำ Unit cost แบบ Quick Method 2.มีการรายงานต้นทุนUnitCost แบบ Quick method ให้ ผู้บริหารได้รับทราบทุกเดือน 3.มีต้นทุน OPD, IPD ไม่สูงกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับ เดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส 4.ได้นำข้อมูลต้นทุนไปใช้ในการพัฒนาระบบบริการ

2. การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ อย่างมี ประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมีจริยธรรม ผลลัพธ์ เป้าหมาย 1.การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา มีประสิทธิภาพ ดำเนินการกำกับติดตามประเมินผล อย่างเป็นระบบ โปร่งใส สอดคล้องตามระเบียบ กำหนด 2.ต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของหน่วยงานต่อ ผู้ป่วยลดลง และการใช้ยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา เหมาะสมในหน่วยบริการแต่ละระดับ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ควบคุมกำกับโดย สสจ เขต และหัวหน้าส่วนราชการ

2. การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ อย่างมี ประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมีจริยธรรม การตรวจ ติดตาม 1.การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและ เวชภัณฑ์ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการ บริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ การสั่งใช้และการใช้ อย่างสมเหตุผล 3.จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อ จัดหา และส่งเสริมการขาย 4.การควบคุมต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 5.การรายงานและการควบคุมกำกับการบริหารจัดการ 1.มีการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหารจัดการ ด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ทุกระดับ 2.มีระบบการกำกับประเมินการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ ยา (Utilization Evaluation) 3.มีแนวปฏิบัติตามเกณฑ์จริยธรรม 4.มีระบบควบคุมกำกับต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ฯ 5.มีการรายงาน และประเมิน ผลการดำเนินงานตาม ลำดับชั้น ในเวลาที่กำหนด มาตรการ ดำเนินงาน

3. ธรรมาภิบาล : การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 3.1 ด้านการส่งเสริมป้องกัน 3.2 ด้านการป้องปรามตรวจสอบ 3.3 ด้านการแก้ไข

ธรรมาภิบาล : 3.1 การส่งเสริมป้องกัน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรทุกระดับ ในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป.ด้าน วินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการ กระทำผิด การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม

3.1.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรทุกระดับในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป. ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ ดำเนินงาน การตรวจ ติดตาม บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับในหน่วยงาน ระดับจังหวัด สังกัด สป. ได้รับการเสริมสร้างและ พัฒนาให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการ กระทำผิด หน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป. (สสจ.รพศ.รพท.) หน่วยงานมีแผนและดำเนินการเสริมสร้าง พัฒนา บุคลากรทุกระดับให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ ป้องกันการกระทำผิด 1.มีการประชุมชี้แจงตัวชี้วัด 2.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.มีแผนเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด 4.มีการดำเนินการตามแผน 5.มีเอกสารหลักฐานการดำเนินการตามแผน 6.มีรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนและพัฒนาต่อยอด

3.1.2 การดำเนินงาน “โรงพยาบาลคุณธรรม” ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ ดำเนินงาน การตรวจ ติดตาม 1.รพ.คุณธรรม 2.ความครอบคลุม รพ.คุณธรรม ในจังหวัด หน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป. (รพศ. รพท. รพช.ระดับ M) หน่วยงานดำเนินงาน “โรงพยาบาลคุณธรรม” 1.ประชุมชี้แจงและแต่งตั้งกรรมการดำเนินการ 2.จัดทำแผน รพ.คุณธรรม 3.ดำเนินการตามแผน 4.รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผน และมีการ พัฒนาต่อยอด 1.ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการ รพ. 2.การทำงานของกรรมการ และแกนนำ/เจ้าหน้าที่ 3.กิจกรรมที่สนับสนุนให้เกิด รพ.คุณธรรม 4.การพัฒนาต่อยอด

ระดับผลการดำเนินการแต่ละขั้นตอนในปีงบประมาณ พ.ศ หน่วยงานประชุมชี้แจงนโยบาย และหาจุดร่วมที่บุคลากรทุกคนตกลง ยึดเป็นข้อปฏิบัติในการนำไปพัฒนา “โรงพยาบาลคุณธรรม” 21.ดำเนินการระดับ 1 และ 2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 3.จัดทำแผนเสริมสร้างการบริหาร และพัฒนา“โรงพยาบาล คุณธรรม” 31.ดำเนินการระดับ 2 และ 2.หน่วยงานดำเนินการตามแผนเสริมสร้างและพัฒนาการเป็น “โรงพยาบาลคุณธรรม” 41.ดำเนินการระดับ 3 และ 2.หน่วยงานผลลัพธ์การดำเนินการพัฒนาหน่วยงานบริการเป็น “โรงพยาบาลคุณธรรม” 51.ดำเนินการระดับ 4 และ 2.หน่วยงานมีการประเมินผลการดำเนินการ และปรับปรุงแผนการ บริหาร พัฒนา “โรงพยาบาลคุณธรรม” ความสำเร็จ โรงพยาบาลคุณธรรม

ธรรมาภิบาล : 2) การป้องปราม ตรวจสอบ : การตรวจสอบภายใน ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ ดำเนินงาน การตรวจ ติดตาม หน่วยงานในสังกัด สป. มีกลไกการตรวจสอบภายใน อย่างเป็นรูปธรรม ระดับจังหวัด ภาคีเครือข่ายคณะกรรมการตรวจสอบภายใน ระดับจังหวัด ภาคีฯ ระดับจังหวัด ดำเนินการตรวจสอบภายใน และ ประเมินระบบการควบคุมภายใน มีกระบวนการ ติดตามหน่วยงานที่ไม่ดำเนินการตามข้อเสนอแนะ รายงานการตรวจสอบภายใน 1.มีแผนการตรวจสอบภายในประจำปี 2.มีการปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบภายใน 3.มีการกำกับ ติดตาม สอดคล้องกับนโยบาย สป. 4.มีการติดตามการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะของ รายงานการตรวจสอบภายใน 5.มีหลักฐานเชิงประจักษ์การดำเนินการแก้ไข

ธรรมาภิบาล : 3) การแก้ไขปัญหา : การแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานผิดพลาด ถูกทักท้วง ถูกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ ดำเนินงาน การตรวจ ติดตาม การเงิน การคลัง พัสดุ บุคลากร หน่วยงานมีการแก้ไขการบริหารจัดการด้าน การเงิน การคลัง พัสดุ บุคลากร ให้ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และ เป็นธรรม สสจ. รพศ. รพท. รพช. ที่มีปัญหาปฏิบัติงานผิดพลาด ถูกทักท้วง ถกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย ผู้บริหารและหน่วยงานมีการดำเนินการแก้ไขปัญหาฯ (ความไม่เป็นธรรมในการแต่งตั้งโยกย้าย เลื่อนระดับ เลื่อนขั้นเงินเดือน ด้านการเงิน การจัดซื้อจัดจ้าง) หน่วยงานที่มีปัญหาฯ ได้มีการดำเนินการตาม มาตรการ ปรับปรุงแก้ไข ลงโทษ ดังนี้ 1. ด้านการลงโทษ 2. ด้านจัดซื้อจัดจ้าง 3. ด้านการเงินและบัญชี 4. ด้านการบริหารบุคคล

สวัส ดี