แนวทางการรายงานเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา รง.506 โรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษ จังหวัดหนองบัวลำภู ปี 2558
นิยาม โรคอุจจาระร่วง เดิม ปี โรคอุจจาระร่วง หมายถึง ถ่ายเหลวอย่างน้อย 3 ครั้ง ใน 24 ชั่วโมง หรือ ถ่ายเป็นน้ำปริมาณมาก 1 ครั้ง อาจมี อาการขาดน้ำหรืออาเจียนร่วมด้วย ใหม่ ปี โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ( รหัส ICD10 - A09) หมายถึง ถ่ายอุจจาระเหลวอย่างน้อย 3 ครั้ง หรือถ่ายเป็นน้ำหรือเป็นมูกเลือด อย่างน้อย 1 ครั้ง ใน 24 ชั่วโมง
นิยาม โรคอาหารเป็นพิษ เดิม ปี โรคอาหารเป็นพิษ หมายถึง ถ่ายอุจจาระเหลว 3 ครั้ง ภายใน 24 ชั่วโมง หรือถ่ายเป็นน้ำจำนวน มาก หรือถ่ายเป็นมูกเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง และ / หรือร่วมกับอาการอื่นๆ ดังนี้ ไข้ ปวดศีรษะ ปวด ท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ร่วมกับมีประวัติการ บริโภคอาหารที่สงสัย ใหม่ ปี 2546 โรคอาหารเป็นพิษ ( รหัส ICD10 - A05) หมายถึง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง อาจมีท้องเสีย ร่วมกับมีประวัติการได้รับอาหารที่มีสารพิษ ปนเปื้อน
ประเด็นการรายงาน - ระดับ รพ. สต. การรายงานในระบบเฝ้าระวัง ๕๐๖ ให้รายงาน โรคอุจจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษตามนิยาม อย่างเคร่งครัด หากไม่พบผู้ป่วยตามนิยาม ไม่ต้อง รายงาน และถ้า หากว่าในช่วงระยะเวลาทุกๆ ๑ สัปดาห์ที่ไม่มีผู้ป่วยที่ต้องรายงาน ๕๐๖ ให้ รพ. สต. แห่งนั้น รายงาน Zero Report โดยการทำหนังสือ รับรองโดยให้ ผอ. รพ. สต. ลงนาม และส่งให้ ศูนย์ ระบาดวิทยาอำเภอเป็นผู้รวบรวม และให้ศูนย์ระบาด วิทยาอำเภอเป็นผู้รายงานให้ งานระบาดวิทยา สสจ. หนองบัวลำภู ทุกเดือน ภายในไม่เกิน วันที่ ๒๐ ของ ทุกเดือน - ระดับ โรงพยาบาล การรายงานโรคในระบบเฝ้าระวัง 506 ก่อน นำเข้าข้อมูลในโปรแกรมให้มีการตรวจคัดกรอง อาการผู้ป่วยจากประวัติการรักษาในเวชระเบียน ตาม นิยามโรคทุกครั้ง
506 Zero report ( รพสต.) ห้าม Zero ติดต่อกันมากกว่า 2 สัปดาห์ สรุปการส่ง 506 รายสัปดาห์ ( ศูนย์ ระบาดอำเภอ )