งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
งานระบาดวิทยา สสจ.นม.

2 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อตรวจจับการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
2.เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ได้ทันเวลา

3 นิยาม ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หมายถึง
ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการอย่างน้อย 2 อาการ ได้แก่ ไข้ (T>38 c) ไอ เจ็บคอ หรือ ผู้ป่วยเป็นทางเดินหายใจช่วงบนอักเสบ (Acute respiratory tract infection) : หวัด คออักเสบ หลอดลมอักเสบ ลงรหัสโรคด้วยICD-10 : J00(J00.00- J00.99),J02.9, J06.9) หรือ

4 นิยาม ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หมายถึง
ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นไข้หวัดใหญ่ (Influenza) ลงรหัสโรคด้วยICD-10 : J09(J09.00-J09.99), J10(J10.00- J10.99), J11(J11.00-J11.99)

5 นิยาม J00 : acute nasopharyngitis
(common cold) J : acute pharyngitis J06.9 : acute upper respiratory infection, unspecified J09 : avian Influenza, new influenza A (H1N1) J10 : Influenza J11 : Influenza, virus not identified

6 จำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมด
ที่รับบริการในหน่วยบริการสาธารณสุข หมายถึง : จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่รับบริการ ตรวจรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก จากทุกกลุ่มงานในสถานพยาบาล ยกเว้น ผู้ใช้บริการแพทย์แผนไทย และ ผู้ใช้บริการในสถานพยาบาลที่ไม่ได้รับ การตรวจรักษา

7 เกณฑ์พิจารณา แนวโน้มจำนวนครั้งผู้ป่วยนอก
อาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ เพิ่มขึ้น ดูจากกราฟเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ของจำนวนครั้งผู้ป่วยระหว่างสัปดาห์ ที่รายงาน กับข้อมูล 3 สัปดาห์ย้อนหลัง สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่กับจำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมด โดยรวมข้อมูล 7 วันย้อนหลัง ตามวันที่รวบรวมข้อมูล คำนวณจาก .... ผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ X 100 จำนวนครั้งผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับบริการ

8 เกณฑ์พิจารณา สัดส่วน < 5% = สถานการณ์ปกติ
สัดส่วน < 5% = สถานการณ์ปกติ สัดส่วน 5-10% = สถานการณ์โรค มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สัดส่วน > 10% = พิจารณาใช้ มาตรการฉุกเฉิน

9 ขั้นตอนการรายงาน รายงานจำนวนผู้ป่วยนอกที่มีอาการคล้าย
ไข้หวัดใหญ่ และจำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด ที่รับบริการในสถานพยาบาลเป็นรายวัน ข้อมูล ตั้งแต่ วันอาทิตย์ ถึง วันเสาร์ (ตามสัปดาห์การรายงานของสำนักระบาดวิทยา) ส่งข้อมูลทุกวันจันทร์ ถัดไปก่อน น. ทางเวปไซด์สำนักระบาด http/ /ili

10 สัดส่วนเกินกว่า 5% ให้ตรวจสอบข้อมูล ILI ในเว็ปไซด์และจากฐานข้อมูลของหน่วยบริการซ้ำอีกครั้ง ค้นหากลุ่มผู้ป่วย ILI ที่มีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน (cluster) ที่มีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา (คน เวลา สถานที่) ที่มีโอกาสแพร่กระจายโรคในชุมชน หรือสถานที่ ที่รวมกลุ่ม จากฐานข้อมูลของหน่วยบริการสาธารณสุข ย้อนหลัง 2-3 สัปดาห์

11 ตรวจสอบสัดส่วนผู้ป่วย ILI ยืนยันติดเชื้อ
ไข้หวัดใหญ่ 2009 ในช่วงเวลาเดียวกัน ตรวจสอบการระบาดของโรคในพื้นที่ในช่วงเวลาย้อนหลัง 2-3 สัปดาห์ อาจแบ่งตามกลุ่มอายุ กลุ่มเสี่ยงต่อการแพร่โรค หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเสียชีวิตสูงหากติดเชื้อไข้หวัดใหญ่

12 บันทึกข้อมูลลงเว๊ปไซด์สำนักงานระบาด http/164.115.5.58/ili โดยเลือก
“Active case finding” จัดตั้ง triage ตรวจผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ จัดสรรบุคลากร สถานที่ ดำเนินการควบคุมป้องกันโรค เตรียมพร้อมรับสถานการณ์การระบาดของไข้หวัดใหญ่ในพื้นที่

13 สัดส่วนเกินกว่า 10% ให้ตรวจสอบข้อมูล ILI ในเว็ปไซด์และจากฐานข้อมูลของหน่วยบริการซ้ำอีกครั้ง ค้นหากลุ่มผู้ป่วย ILI ที่มีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน (cluster) ที่มีความเชื่อมโยงทางระบาดวิทยา (คน เวลา สถานที่) ที่มีโอกาสแพร่กระจายโรคในชุมชน หรือสถานที่ ที่รวมกลุ่ม จากฐานข้อมูลของหน่วยบริการสาธารณสุข ย้อนหลัง 2-3 สัปดาห์

14 ตรวจสอบสัดส่วนผู้ป่วย ILI ยืนยันติดเชื้อ
ไข้หวัดใหญ่ 2009 ในช่วงเวลาเดียวกัน ตรวจสอบการระบาดของโรคในพื้นที่ในช่วงเวลาย้อนหลัง 2-3 สัปดาห์ อาจแบ่งตามกลุ่มอายุ กลุ่มเสี่ยงต่อการแพร่โรค หรือกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเสียชีวิตสูงหากติดเชื้อไข้หวัดใหญ่

15 บันทึกข้อมูลลงเว๊ปไซด์สำนักงานระบาด http/164.115.5.58/ili โดยเลือก
“Active case finding” จัดตั้ง triage ตรวจผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ จัดสรรบุคลากร สถานที่ ดำเนินการควบคุมป้องกันโรค เตรียมพร้อมรับสถานการณ์การระบาดของไข้หวัดใหญ่ในพื้นที่

16 จัดตั้ง war room ระดับอำเภอ
เพื่อควบคุมการระบาดของโรค ในพื้นที่ แจ้งหน่วยงานปกครองและประสานหน่วยงานอื่นในการประกาศภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขและเตรียมรับภาวะเสี่ยงต่างๆที่อาจเกิดขึ้น

17 สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมด
รายงาน สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมด ที่รับการรักษาในสถานพยาบาล ระหว่างวันที่ 5 มกราคม-15 มีนาคม 57 (สัปดาห์ที่ 1-10) ตามสัปดาห์รายงานของสำนักระบาดวิทยา พ.ศ. 2557

18 สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับการรักษา
ในสถานพยาบาลในจังหวัดนครราชสีมา เปรียบเทียบระหว่างสัปดาห์ที่ 1-10 ปีพ.ศ ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

19 ตารางสรุปจำนวนสถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
จังหวัดนครราชสีมาประจำสัปดาห์ที่ 6-10 พ.ศ. 2557 สัดส่วนผู้ป่วย ILI ย้อนหลัง 5 สัปดาห์ สถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลครบ 7 วัน ลำดับ Hcode สถานพยาบาล จำนวนวันที่ส่ง ร้อยละ สป.6/57 ร้อยละ สป.7/57 ร้อยละ สป.8/57 ร้อยละ สป.9/57 ร้อยละ สป.10/57 สรุปสถานการณ์ 1 รพ.ขามทะเลสอ 7 11.93 10.69 9.73 12.95 10.49 สัดส่วนผู้ป่วย>10% ต้องใช้มาตรการฉุกเฉิน 2 รพ.ลำทะเมนชัย 4 6.09 5.07 7.66 8.89 7.99 สัดส่วนผู้ป่วย 5-10% แนวโน้มลดลง 3 รพ.ห้วยแถลง 7.82 6.99 6.41 8.85 7.71 รพ.วังน้ำเขียว 8.86 8.10 7.60 7.10 7.48 สัดส่วนผู้ป่วย 5-10% แนวโน้มเพิ่มขึ้น 5 รพ.คง 7.28 9.64 9.47 7.92 6 รพ.ปักธงชัย 10.62 8.55 9.37 6.89 7.13 รพ.ขามสะแกแสง 7.75 6.24 7.52 9.83 7.03 8 รพ.จักราช 8.42 6.75 7.65 8.30 6.94 9 รพ.เสิงสาง 7.41 7.58 9.38 7.50 6.93 10 รพ.สูงเนิน 9.95 8.50 6.82 11 รพ.พิมาย 6.39 6.96 6.50 12 รพ.ครบุรี 7.69 5.33 6.67 6.07 6.13 13 รพ.สีคิ้ว 8.12 7.86 7.33 5.77 ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

20 ตารางสรุปจำนวนสถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
จังหวัดนครราชสีมาประจำสัปดาห์ที่ 6-10 พ.ศ. 2557 สัดส่วนผู้ป่วย ILI ย้อนหลัง 5 สัปดาห์ สถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลครบ 7 วัน ลำดับ Hcode สถานพยาบาล จำนวนวันที่ส่ง ร้อยละ สป.6/57 ร้อยละ สป.7/57 ร้อยละ สป.8/57 ร้อยละ สป.9/57 ร้อยละ สป.10/57 สรุปสถานการณ์ 14 รพ.แก้งสนามนาง 7 7.71 6.78 8.14 5.78 5.64 สัดส่วนผู้ป่วย 5-10% แนวโน้มลดลง 15 รพ.ด่านขุนทด 4.45 4.85 5.65 5.57 5.30 16 รพ.โนนสูง 6.90 6.80 6.22 5.28 17 รพ.โคราชเมโมเรียล 3.50 3.35 4.60 3.13 5.21 สัดส่วนผู้ป่วย 5-10% แนวโน้มเพิ่มขึ้น 18 รพ.บัวใหญ่ 10.36 9.67 8.29 6.92 5.07 19 รพ.พระทองคำฯ 4.38 4.41 5.38 4.90 4.86 สัดส่วนผู้ป่วย<5%สถานการณ์ปกติ 20 รพ.บ้านเหลื่อม 7.23 6.04 5.58 4.20 4.52 21 รพ.ประทาย 6.43 4.58 4.89 3.98 22 รพ.เทพรัตน์ฯ 3.90 4.28 4.11 3.57 23 รพ.เมืองยางฯ 4.75 4.47 3.36 3.31 24 รพ.โชคชัย 1.05 1.55 1.76 1.86 25 รพ.หนองบุนมาก 2.89 2.86 2.18 1.30 1.60 26 รพ.โนนแดง 1.20 0.65 0.96 1.01 1.08 27 รพ.ชุมพวง 4.64 1.25 1.03 ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

21 ตารางสรุปจำนวนสถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
จังหวัดนครราชสีมาประจำสัปดาห์ที่ 6-10 พ.ศ. 2557 สัดส่วนผู้ป่วย ILI ย้อนหลัง 5 สัปดาห์ สถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลไม่ครบ 7 วัน ลำดับ Hcode สถานพยาบาล จำนวนวันที่ส่ง ร้อยละ สป.6/57 ร้อยละ สป.7/57 ร้อยละ สป.8/57 ร้อยละ สป.9/57 ร้อยละ สป.10/57 สรุปสถานการณ์ 1 รพ.โนนไทย 8.50 5.97 7.99 7.05 9.13 วิเคราะห์ข้อมูลไม่ได้ ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

22 ตารางสรุปจำนวนสถานพยาบาลที่ส่งข้อมูลผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
จังหวัดนครราชสีมาประจำสัปดาห์ที่ 6-10 พ.ศ. 2557 สัดส่วนผู้ป่วย ILI ย้อนหลัง 5 สัปดาห์ สถานพยาบาลเครือข่าย ลำดับ Hcode สถานพยาบาล จำนวนวันที่ส่ง ร้อยละ สป.6/57 ร้อยละ สป.7/57 ร้อยละ สป.8/57 ร้อยละ สป.9/57 ร้อยละ สป.10/57 สรุปสถานการณ์ 1 .- ศพช.ม.ราชภัฎฯ 7 21.91 16.27 22.17 20.23 11.21 สัดส่วนผู้ป่วย>10% แนวโน้มลดลง 2 ศพช.3 วัดบูรพ์ 13.48 16.54 17.49 12.57 10.05 3 มทส. 11.92 7.52 9.65 7.54 7.60 สัดส่วนผู้ป่วย5-10% แนวโน้มเพิ่มขึ้น 4 กองบิน1 19.07 15.07 9.60 5.90 8.89 5 คลินิคฯมหาชัย 3.70 2.87 3.29 1.47 3.66 สัดส่วนผู้ป่วย<5%สถานการณ์ปกติ ที่มาข้อมูล : สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข


ดาวน์โหลด ppt ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google