Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย
หน่วย : ราย หน่วย : ตัน / วัน หน่วย : ตัว หน่วย : ตัน / วัน หน่วย : แห่ง ภาคกลางภาคใต้ภาคเหนือภาคตะวันตกภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออก กรมปศุสัตว์, 2547
ระบบการตลาดน้ำนมดิบของ ประเทศไทย สหกรณ์โคนม ศูนย์รวบรวม น้ำนมดิบ รับซื้อน้ำนม ดิบ โรงงาน แปรรูป ผลิตภัณ ฑ์นม นมผง นำเข้า ตลาดนมพาณิชย์ ใช้นมดิบหรือนม ผงผลิต ตลาดนม โรงเรียน ( ใช้เฉพาะนม ดิบผลิต ) ผู้บริโ ภค เกษตรกร โคนม ผลิตน้ำนม ดิบ จิตศักดิ์, 2549
สหกรณ์ / ศูนย์ โรงงานแปรรูป ฟาร์มโคนม ผู้บริโภค การพัฒนาคุณภาพน้ำนมทั้งระบบ มีผลต่อประสิทธิภาพการผลิต GAP-GMP
P= G + E
อาหารและการจัดการ
การปรับปรุงพันธุ์ ปัจจุบัน = 67.4% ของโคนม มีสายเลือดโฮลสไตน์สูงกว่า 87.5%
ประสิทธิภาพการผลิตโคนม โรงงานแปรรูป เกษตรกร โคนม – อาหาร - สุขภาพ ผู้บริโภค เศรษฐกิจสังคม ผู้เลี้ยง + ผู้ผลิต สหกรณ์ / ศูนย์รวมนม นโยบายรัฐ การค้าเสรี ภายใน ภายนอกประเทศ ราคาน้ำมัน นักส่งเสริม - ผสมเทียม สัตวแพทย์ + ผู้ช่วยฯ ควบคุมคุณภาพน้ำนม
ศักยภาพการผลิตโคนมไทย … วันนี้ จำนวนฟาร์มโคนม 25,393 ราย ( เป็นฟาร์มในเขตภาคกลาง 69.4%) จำนวนฟาร์มที่ส่งนม 16,044 ราย จำนวนโคนม 381,702 ตัวเป็นแม่โครีดนม 154,445 ตัว 71% จัดเป็นฟาร์มขนาดเล็ก ( โครีดนมน้อยกว่า 20 ตัว ) ผลผลิตน้ำนมเฉลี่ยรายตัว 3,945 กก./ ระยะให้นม และระยะรีดนมนาน 324 วัน คุณภาพน้ำนมเฉลี่ย : จำนวนจุลินทรีย์ 209,843 โคโลนี / มล. จำนวนเซลล์โซมาติก 549,910 เซลล์ / มล. เปอร์เซ็นต์ไขมันเฉลี่ย 3.75 เปอร์เซ็นต์โปรตีน 3.09 เปอร์เซ็นต์เนื้อนม เปอร์เซ็นต์เนื้อนมไม่รวมไขมัน 8.44 ประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ : วันท้องว่างเฉลี่ย 196 วัน ที่มา : กรมปศุสัตว์และชุมนุมสหกรณ์โคนมแห่งประเทศไทย, 2549
สถานการณ์ปัจจุบัน : การเปิดการค้าเสรี 2548 ทำให้สภาพการแข่งขันเชิงธุรกิจชัดเจนขึ้น ประเทศในกลุ่มอาเซียน เช่น เวียดนาม ประกาศแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์นม เพื่อทดแทนการนำเข้าและแข่งขันในตลาดใกล้เคียงกับไทย ความพร้อมของประเทศไทย : อุตสาหกรรมโคนมของไทยมีความพร้อมเชิงโครงสร้างภาครัฐ มีระบบสหกรณ์ที่พัฒนาต่อเนื่อง รู้รัก สามัคคี มีระบบมาตรฐานและระบบรับรองความปลอดภัยอาหาร มีโครงสร้างอาหารเสริม ( นมโรงเรียน ) ใช้ผลผลิตน้ำนมดิบของเกษตรกร
สภาพปัญหา : ไม่มีระบบบริหารจัดการอุตสาหกรรมนมที่ต่อเนื่องทั้งระบบ ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบต้นทางจนถึงผู้บริโภค ทำให้สภาพปัญหาการผลิตไม่สะท้อนสู่ผู้บริโภค ผู้บริโภคในสังคมและกระแสโลกาภิวัตน์ที่ต้องการสินค้าหลากหลาย มูลค่าเพิ่มไม่ได้ส่งต่อให้กับผู้ผลิตตลอด value chain ตลาดเป็นของผู้ประกอบการ กลไกและเครือข่ายรับผิดชอบของรัฐไม่ประสานกันทำงานรับผิดชอบเป็นตอนๆ ผู้บริโภคขาดความรู้ความเข้าใจที่จะเชื่อมโยงไปถึงภาคการผลิต
การพัฒนาโคนม ระบบราคาน้ำนมดิบ ( ต้นทุน + ราคากลาง ??) ปัจจัยจากคน ( จากทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง ) การบริโภค การสื่อสาร ให้ความรู้ อาหารนม จำกัด ระบบการจัดการนมโรงเรียน พัฒนาประเด็นเชิงเทคนิคในการผลิตโคนม วิจัยและการจัดการองค์ความรู้ สู่ผู้ใช้ประโยชน์
รู้รัก สามัคคี คิดถึงส่วนรวม ก่อนส่วนตน รู้จัก ความพอพียง