ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วย : ล้าน บาท ผลการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี พ. ศ ปี พ. ศ. จำนวนเงิน ที่ขอกัน เบิกจ่ายร้อยละ ,
Advertisements

การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถใน การ ป้องกันและลดผลกระทบ จากสาธารณภัย สำนักนโยบายป้องกันและ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัด การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตาม มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ รายละเอียดตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนนตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แนวทางการดำเนินงานและการจัดทำรายงานผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองปี
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
การดำเนินงานต่อไป.
การเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายเงินงบประมาณงบดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1

ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ คำอธิบาย กองคลัง การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประเมินจากอัตราการเบิก จ่ายเงินงบประมาณ 2 ประเภท 1)การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 2)การเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายลงทุน การคำนวณวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการ จัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ (รับโอนหลังวันที่ 1 ก.ค. 58) ใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายจาก ระบบ GFMIS การให้คะแนน พิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ภาพรวม/รายจ่ายลงทุน ของหน่วยงานเทียบกับวงเงินงบประมาณที่ได้รับ ทุกหน่วยงานต้องจัดทำคำรับรองตัวชี้วัดนี้ โดยการประเมินผลระดับหน่วยงาน จะแบ่งเกณฑ์การประเมินผลหน่วยงานเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน กรณีที่ 1 2. หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน กรณีที่ 2

กรณีที่ 1 หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รายจ่ายภาพรวม - ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ รวม1.0 เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 2 กรณี เกณฑ์การให้คะแนน

กรณีที่ 2 หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ความสามารถในการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายภาพรวม - ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ไตรมาสที่ ความสามารถในการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายลงทุน รวม1.0 หลักฐานอ้างอิง 1. ข้อมูลการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 2. รายงานวงเงินงบประมาณที่ประหยัดได้ (งบประมาณเหลือจ่าย) และไม่ได้ นำเงินดังกล่าวไปใช้ในภารกิจหรือโครงการอื่นๆ

5 ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ ตามมาตรการประหยัดพลังงาน ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน : การที่หน่วยงาน สามารถจัดการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงภายในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงได้อย่างน้อย ร้อยละ 10 ของปริมาณ การใช้มาตรฐาน การประหยัดพลังงาน พิจารณาจากการใช้พลังงาน 2 ชนิด ได้แก่ ไฟฟ้า และน้ำมัน เชื้อเพลิง หน่วยงานที่มีบทบาทภารกิจเกี่ยวข้องต่อการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด ต้องจัดทำคำ รับรองฯ ตัวชี้วัดนี้ ซึ่งได้แก่ ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย คำอธิบาย การประเมินผล พิจารณาจากความครบถ้วนของข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมิน ปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐานและค่าดัชนีการใช้พลังงาน ข้อมูลปริมาณการใช้ พลังงานจริงของหน่วยงาน ข้อมูลการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตาม มาตรการประหยัดพลังงาน ที่รายงานทางเว็บไซต์ และ ผลการประหยัดพลังงานตามเกณฑ์การให้คะแนน สำนักงาน เลขานุการ กรม

เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมินผล คะแนน ไฟฟ้าน้ำมัน เชื้อเพลิง ขั้นตอนที่ 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงานด้านไฟฟ้า/น้ำมัน ของปีงบประมาณ พ.ศ.2558 รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน ตามรูปแบบที่ สนพ.กำหนด 10 ขั้นตอนที่ 2 - มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการ ใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน และค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันที่ใช้จริง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ครบถ้วน 12 เดือน (ต.ค. 57 – ก.ย.58) ขั้นตอนที่ 3 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2558 (อยู่ในช่วง ถึง ) 10 ขั้นตอนที่ 4 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2558 (อยู่ในช่วง ถึง ) 10 ขั้นตอนที่ 5 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2558 (อยู่ในช่วง 0 ถึง ) 10 รวม50

หลักฐานอ้างอิง/แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล 1. ข้อมูลรายงานในระบบ 2. หน่วยงานรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้ไฟฟ้า และ น้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ข้อมูลปริมาณการ ใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงจริงของหน่วยงาน ข้อมูลการติดตามและรายงานผลการ ดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงาน ในระบบ ให้ ครบ 12 เดือน (ตั้งแต่เดือนต.ค.57- ก.ย.58) ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Utilization Index : EUI) = (90% ของปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน) – ปริมาณการใช้พลังงานจริง ปริมาณการใช้พลังงานจริง สูตรการคำนวณค่าดัชนีการใช้พลังงาน :

สูตรการคำนวณการใช้พลังงานมาตรฐาน ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(1.501 × จำนวนบุคลากร) + (0.002 × พื้นที่ใช้สอยภายใน อาคาร) + (0.439 × เวลาทำการ) + (0.002 × จำนวนผู้เข้ามา ใช้บริการ)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (6.917 × จำนวนบุคลากร) + (0.841 × ขนาดของพื้นที่ ให้บริการ) + (5.638 × ระยะห่างจากตัวจังหวัด) ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(1.294 × จำนวนบุคลากร) + (0.053 × พื้นที่ใช้สอยภายใน อาคาร) + (14.64 × เวลาทำการ) + (0.016 × จำนวนผู้เข้ามาใช้ บริการ)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (2.814 × จำนวนบุคลากร) + 4, หน่วยงานระดับกรม สำนักงานทั่วไป

โรงพยาบาล ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(0.108 × จำนวนบุคลากร) + (0.050 × พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร) + (8.898 × จำนวนเตียง) + (0.194 × จำนวนผู้ป่วยนอก) + (0.040 × จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (0.531 × จำนวนบุคลากร) + (0.248 × จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน) + (0.161 × พื้นที่ของจังหวัดที่ตั้ง) + ( × ระยะห่างจาก จังหวัด)

1.บุคลากรทำงานเต็มเวลา (คน) - จำนวนบุคลากรที่ทำงานเต็มเวลาทำการ ตลอดทั้งเดือนนั้นนับรวมทั้ง ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษา นักศึกษาฝึกงาน - ถ้าแบ่งเวลาทำงานเป็นรอบ ก็ให้นับจำนวนรวมกัน 2. จำนวนผู้เข้ามาใช้บริการ (คน) - จำนวนบุคคลภายนอกที่เข้ามาใช้บริการ - จำนวนของผู้ที่เข้าใช้ห้องประชุม 3. เวลาทำการ (ชั่วโมง) - เวลาทำงานปกติ นับรวมทั้งเดือนเฉพาะวันทำการ - เวลาทำงานนอกเวลา (Overtime) 4. จำนวนเตียง (เตียง) - นับจำนวนเตียงทั้งหมด (มีคนไข้ และไม่มีคนไข้) 5. จำนวนผู้ป่วยนอก (ครั้ง) - นับจำนวนครั้งที่มารับบริการในแต่ละวัน - ไม่นับจำนวนญาติ/ผู้ติดตาม 6. จำนวนผู้ป่วยใน - จำนวนผู้ป่วยที่รับไว้รักษา และนอนโนโรงพยาบาลในแต่ละวัน ข้อสังเกตในการกรอกข้อมูลพื้นฐาน

Q&A 11