งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ * การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน* * การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม* * นำผลการเบิกจ่ายจากระบบ GFMIS มาเป็นผลการประเมิน กองคลัง 17 พ.ย. 2559

2 1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 2) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน
ประเด็นการประเมินผล : การประเมินประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 15 : ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 คะแนนตัวชี้วัด : คะแนน ความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงาน ประเมินจากอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 2 ประเภท คือ 1) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 2) การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน

3 มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2559) กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณรายไตรมาส ประกอบด้วย *** เป้าหมายการเบิกจ่ายงบภาพรวม ณ สิ้นไตรมาส 4 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 96 ของวงเงิน ที่ได้รับจัดสรรและเร่งรัดการเบิกจ่ายรายไตรมาสให้ได้ร้อยละ 30, 52, และ 96 ในไตรมาสที่ 1, 2, 3 และ 4 ตามลำดับ *** เป้าหมายการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน ณ สิ้นไตรมาส 4ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 87 ของวงเงินที่ได้รับจัดสรรและเร่งรัดการเบิกจ่ายรายไตรมาสให้ได้ ร้อยละ 19, 40, 61 และ 87 ในไตรมาสที่ 1, 2, 3 และ 4 ตามลำดับ

4 กรมอนามัยกำหนดเกณฑ์ประเมินการเบิกจ่าย :
กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย ตามมติ ค.ร.ม. โดยประเมินการเบิกจ่าย ณ เดือนที่ 5 และ 10 ของปีงบประมาณ พ.ศ.2560 * การคำนวณวงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม/รายจ่ายลงทุน จะไม่รวมเงินงบที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ (ในส่วนที่ได้รับการจัดสรรเงินหลังวันที่ 30 มิถุนายน 2560) และไม่รวมงบประมาณที่ส่วนราชการประหยัดได้ และไม่ได้นำเงินดังกล่าวไปใช้ในภารกิจหรือโครงการอื่นต่อ ทั้งนี้ให้ส่วนราชการรายงานวงเงินงบประมาณที่ประหยัดได้ (งบประมาณเหลือจ่าย) เพื่อใช้ประกอบการประเมินผล * * ในกรณีที่ส่วนราชการนำเงินงบประมาณที่ประหยัดได้จากโครงการเดิมไปใช้ในโครงการอื่น ๆ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณของโครงการใหม่จะนำมาใช้คำนวณอัตราการเบิกจ่ายด้วย

5 **** เกณฑ์การให้คะแนน ****
การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 1.การเบิกจ่ายภาพรวมของหน่วยงานเทียบกับวงเงินงบประมาณที่หน่วยงานได้รับ 2.การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนของหน่วยงานเทียบกับวงเงินงบประมาณที่ หน่วยงานได้รับ ***** หากมีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณระหว่างปี (รายจ่ายประจำไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุนไปรายจ่ายประจำ) จะนำยอดงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลงแล้วมาเป็นฐานในการคำนวณ *****

6 เกณฑ์การประเมินผลหน่วยงานเป็น 2 กลุ่มคือ
1. หน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ * สูตรการคำนวณ : ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม = ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม X 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่หน่วยงานได้รับ 2. หน่วยงานที่มีงบประมาณรายจ่ายลงทุน ประเมินผลตามเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ ** สูตรการคำนวณ : ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน = ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน X 100 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่หน่วยงานได้รับ

7 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย
เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 – กุมภาพันธ์ 2560) กรณีไม่มีงบลงทุน ตัวชี้วัด ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายภาพรวม น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 5 เดือนแรก (ตุลาคม – กุมภาพันธ์ 2560) 1.00 40 41 42 43 44 รวม

8 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย
เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนหลัง ( มีนาคม กรกฎาคม 2560) กรณีไม่มีงบลงทุน ตัวชี้วัด ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่ายภาพรวม น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 5 เดือนหลัง (มีนาคม – กรกฎาคม 2560) 1.00 77 78 79 80 81 รวม

9 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย
เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2560) กรณีมีงบลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ภาพรวม 0.6 40 41 42 43 44 งบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.4 29 30 31 32 33

10 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย
เกณฑ์การให้คะแนน : 5 เดือนหลัง (มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560) กรณีมีงบลงทุน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณรายจ่าย ภาพรวม 0.6 77 78 79 80 81 งบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.4 67 68 69 70 71

11 มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

12 เงื่อนไขเพิ่มเติมในการให้คะแนนงบประมาณรายจ่ายลงทุนในไตรมาส 1
หากหน่วยงานไม่สามารถดำเนินการได้ตามกรณีที่ หรือ 3 (ตามงบรายจ่ายลงทุนที่หน่วยงานได้รับการจัดสรร) จะถูกหักคะแนนออกจากคะแนนก่อนถ่วงน้ำหนักเป็นกรณี ๆในข้างต้น ตัวอย่าง หน่วยงาน ก. เบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนได้ร้อยละ 33 (เท่ากับ 5 คะแนน) แต่มีงบรายจ่ายลงทุนที่มีวงเงินไม่เกิน 2 ลบ. จำนวน 8 รายการ แต่ไม่สามารถก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายได้ภายในไตรมาสที่ 1 จำนวน 3 รายการ วิธีคำนวณ นำราย 3 รายการที่ไม่สามารถ PO/เบิกจ่ายได้ในไตรมาส 1 หารด้วยรายการ ทั้งหมด คือ 8 รายการ จะได้ 3/8 = นำคะแนนที่ได้ 5 คะแนน มาหักกับคะแนนที่ไม่สามารถ จะได้คะแนน – = ดังนั้น หน่วยงานจะได้คะแนนตามเกณฑ์ที่ = จึงค่อยนำคะแนนไปทำการถ่วงน้ำหนัก (ดังตัวอย่างในสไลด์ถัดไป)

13 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของอัตราการเบิกจ่ายเงิน
รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2560) - กรณีไม่มีงบลงทุน ตัวชี้วัด ( i ) น้ำหนัก(Wi) ร้อยละ ที่ได้ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของอัตราการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ คะแนน (SMi) 1 2 3 4 5 1. ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 – กุมภาพันธ์ 2560) 1.00 40 41 42 43 44 SM1 รวม

14 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของอัตราการเบิกจ่ายเงิน
รอบ 5 เดือนหลัง (มีนาคม กรกฎาคม 2560) - กรณีไม่มีงบลงทุน ตัวชี้วัด ( i ) น้ำหนัก(Wi) ร้อยละ ที่ได้ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละ ของอัตราการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ คะแนน (SMi) 1 2 3 4 5 ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม รอบ 5 เดือนหลัง ( มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560) 1.00 77 78 79 80 81 SM1 รวม

15 รอบ 5 เดือนแรก (ตุลาคม 2559 – กุมภาพันธ์ 2560 ) - กรณีมีงบลงทุน
ตัวชี้วัด ( i ) น้ำหนัก (Wi) ร้อยละ ที่ได้ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 1 2 3 4 5 1.ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 0.6 40 41 42 43 44 SM2 (W2xSM2) ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.4 29 30 31 32 33 SM3 (W3xSM3) รวม 1.0 (WixSMi)

16 รอบ 5 เดือนหลัง ( มีนาคม 2560 – กรกฎาคม 2560 ) - กรณีมีงบลงทุน
ตัวชี้วัด ( i ) น้ำหนัก (Wi) ร้อยละ ที่ได้ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ คะแนนที่ได้ (SMi) คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (Wi x SMi) 1 2 3 4 5 1.ความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายภาพรวม 0.6 77 78 79 80 81 SM2 (W2xSM2) ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน 0.4 67 68 69 70 71 SM3 (W3xSM3) รวม 1.0 (WixSMi)

17 ตัวอย่างการคำนวณคะแนน

18 หมายเหตุ ผลการเบิกจ่าย กองคลังนำผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) มาเป็นผลงานประเมินผลตามเกณฑ์ที่กำหนด


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google