การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
กลุ่มที่ 2 เด็กวัยเรียน.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองอธิบดีกรมอนามัย
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
Cluster วัยเรียน ปีงบประมาณ 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ แผนการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบบูรณาการ ดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการ โรงเรียนผ่านเกณฑ์ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับกระทรวง 1.เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน ร้อยละ 10 2. อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคน จากการจมน้ำของเด็ก(อายุต่ำกว่า 15 ปี ) ไม่เกิน 6.5 ระดับเขตสุขภาพ 1.จำนวนโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 95 2.จำนวนโรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรมผ่านเกณฑ์KPIระดับจังหวัดทุกด้านร้อยละ 40 3.จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กลดลง ตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง ระดับจังหวัด 1.โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและนักเรียนในรร.ได้รับบริการทันตกรรมป้องกัน รักษา ร้อยละ 50 2. เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 70 3.เด็กป.1ทุกคนได้รับการตรวจวัดสายตาและการได้ยินโดยร้อยละ 80 ของเด็กที่มีปัญหาได้รับการช่วยเหลือแก้ไข 4.จำนวนการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กลดลงตามเกณฑ์ในแต่ละพื้นที่เสี่ยง 2. การจัดบริการสุขภาพร่วมกับโรงเรียน บริการสุขภาพอนามัยนักเรียน ช่วยเหลือ/ติดตาม/ส่งต่อ เด็กได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีระบบติดตามและส่งต่อการบริการสุขภาพ ระบบรายงานการให้บริการและส่งต่อ 3. การมีส่วนร่วมของเครือข่าย สุขภาพระดับอำเภอ (DHS) ; ครอบครัว/ ชุมชน/อปท. พัฒนาสุขภาพเด็ก จัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เสริมสร้างความรู้/ความสามารถและทักษะในการดูแลสุขภาพ (Health literacy) จัดทำแผนการพัฒนาสุขภาพเด็กในระดับอำเภอ จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ/ลดปัจจัยเสี่ยง สุ่มประเมินการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ บริการสุขภาพรวมทุกอย่าง เช่น การตรวจคัดกรอง การวัดสายตา การได้ยิน ภาวะโภชนาการ ช่วยเหลือ/ติดตาม/ส่งต่อ โดยสถานบริการ ร่วมกับ รร. การแก้ไขปัญหา การสื่อสารสุขภาพระหว่างบ้านกับโรงเรียน แนวทางการทำงาน ต้องมีระบบข้อมูลสุขภาพนักเรียน มีและใช้ข้อมูลเพื่อขับเคลื่อนกระแสและติดตามประเมินผล (ข้อมูลสุขภาพที่เป็นปัจจุบันและพร้อมใช้งาน)

สิ่งสนับสนุนกลุ่มวัยเรียน ภารกิจกรมฯ สิ่งสนับสนุน (Download ที่ www.anamai.moph.go.th) 1) National Lead คู่มือการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการ 2.โครงการพัฒนารูปแบบปรับเปลี่ยนและเตือนภัยพฤติกรรมสุขภาพ 3.โครงการสร้างเสริมความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์เพื่อนักเรียนไทยสุขภาพดี 4. โครงการพัฒนาเครือข่ายป้องกันเด็กจมน้ำ 2) Model Development 1.โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก 2.พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน - คู่มือการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - คู่มือแนวทางการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเด็กวัยเรียนและเยาวชน - พัฒนาเกณฑ์อ้างอิง/ระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโต สุขภาพช่องปาก 3.สร้างความพร้อม/สนับสนุนการจัดบริการสุขภาพจิตในพื้นที่ 3) Surveillance 1.สำรวจภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน 2.พัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนกับสุขภาพองค์รวม 4) Technology Transfer 1.แนวทางคัดกรองเด็กอ้วนที่เสี่ยงต่อโรค เพื่อช่วยเหลือ/ส่งต่อ 2.โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในถิ่นทุรกันดาร 3.การพัฒนาศักยภาพครู ก ป้องกันเด็กจมน้ำ 5) M&E, Problem Solving, valuation 1.ประเมินมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแบบบูรณาการ 2.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล

ขอบคุณและสวัสดี