เหลียวหลังแลหน้า กับ การพัฒนาคุณภาพ HA

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน ) PCT profile.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
Continuous Quality Improvement
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ทีม โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
CLT Profile ภาควิชา/ทีมนำทางคลินิก
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เหลียวหลังแลหน้า กับ การพัฒนาคุณภาพ HA ชูขวัญ ศิลา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 2 กุมภาพันธ์ 2556

ทำไมต้องคุณภาพ ????

สิ่งที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาคุณภาพ ผู้ป่วย ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ มีความเสี่ยงน้อย ได้รับการพิทักษ์สิทธิ์ผู้ป่วย และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

สิ่งที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาคุณภาพ ผู้ปฏิบัติงาน จะปฏิบัติงานภายใต้บรรยากาศการทำงานที่ดีขึ้น มีความเสี่ยง ความผิดพลาดน้อยลง ได้เรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพตนเอง

สิ่งที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาคุณภาพ สถานบริการสาธารณสุข มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ทำให้อยู่รอด และยั่งยืน

สิ่งที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาคุณภาพ ระบบบริการสุขภาพ บริการสาธารณสุขทั้งระบบจะดีขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ร่วมกันอย่าง กว้างขวางด้วยการให้คำปรึกษา และการประเมิน

สิ่งที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาคุณภาพ สังคม มีความเชื่อมั่นต่อระบบบริการของโรงพยาบาลมากขึ้น มีความโปร่งใส ได้รับการรับรอง ประชาชนสามารถใช้ข้อมูลประกอบเพื่อการตัดสินใจเลือกสถานบริการได้

เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ นโยบายคุณภาพ ส่งเสริมให้บุคคลากรทุกระดับ  มีความรักสามัคคี ทำงานร่วมกันเป็นทีม  เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพและความร่วมมือร่วมใจในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นให้เกิดบริการที่มีมาตรฐานและมีการบริหารความเสี่ยงเพื่อความปลอดภัยแก่ผู้รับบริการในทุกโอกาส เพื่อให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ สนับสนุนให้โรงพยาบาลเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสร้างบรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ผ่านมาตรฐานบริการสาธารณสุข ผ่านมาตรฐานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ผ่านมาตรฐาน ยาเสพติด PKM HA HA HPH ระบบบริการ ด้วยหัวใจ ความเป็น มนุษย์ ผ่านมาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักษ์ระดับทอง ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัย ระดับ5 กิจกรรม OD กิจกรรม ESB กิจกรรม 5ส. SWOT Analysis CQI ผ่านมาตรฐานHA มาตรฐาน HPH กรมอนามัย Overall Scoring 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

กลับมาดูที่รพ.เราสิคะ...

แผนภูมิการแบ่งงานภายในโรงพยาบาลชุมชน กลุ่มภารกิจอำนวยการ กลุ่มภารกิจเทคนิคบริการและบริการทางการแพทย์ กลุ่มภารกิจ การพยาบาล กลุ่มภารกิจ เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน

โครงสร้างการพัฒนาคุณภาพและส่งเสริมสุขภาพ ผู้บริหารสูงสุด หมายเหตุ ทีมงานต่างๆ ผสมผสานงานด้านส่งเสริมสุขภาพ มุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาตามองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง การประสานงานทั้งแนวตั้งและแนวราบ คณะกรรมการมีส่วนร่วมชุมชน คณะกรรมการบริหาร / ทีมนำพัฒนาคุณภาพ ทีมผู้ประสาน งานคุณภาพ ทีม Facilitator ทีมเยี่ยมสำรวจภายใน ทีมนำเฉพาะด้าน คณะกรรมการHRM คณะกรรมการ PTC คณะกรรมการIC คณะกรรมการ ENV คณะกรรมการIM ทีมเวชระเบียน คณะกรรมการระบบยา คณะกรรมการRM คณะกรรมการ PCT องค์กรวิชาชีพ องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล

ภาษา HA วันละหลายๆคำ คณะกรรมการHRM : Human Resource Management พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะกรรมการIC ; Infection Control ควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ คณะกรรมการIM : Information Management บริหารสารสนเทศ คณะกรรมการRM : Risk Management บริหารความเสี่ยง คณะกรรมการ PCT: Patient Care Team ทีมนำทางคลินิก คณะกรรมการ PTC : คณะบริหารจดการยาละเวชภัณฑ์ คณะกรรมการ ENV: คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย LOGO www.themegallery.com

HA คืออะไร...

HA คืออะไร HA ย่อมาจาก Hospital Accreditation HA เป็นกลไกอันหนึ่ง (Mechanism) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นให้องค์กรเกิดการพัฒนาระบบงานจะต้องเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบและทั่วถึงทั้งองค์กร HA จะช่วยให้เกิดการเรียนรู้ในเรื่องการพัฒนาคุณภาพ การแก้ไขปัญหาและเรื่องอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารคุณภาพของโรงพยาบาล HA คาดหวังที่จะให้โรงพยาบาลมีการประเมินตนเองและพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดยั้ง โดยใช้แนวทางที่กำหนดไว้ในมาตรฐานโรงพยาบาล LOGO www.themegallery.com

HA คืออะไร Accreditation คืออะไร กระบวนการประกันคุณภาพระบบบริการของสถานพยาบาลในทุกด้าน เปรียบเทียบกับมาตรฐานระดับชาติเป็นระบบที่ทำด้วยความสมัครใจ LOGO www.themegallery.com

กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์ ทำความเข้าใจกับ HA กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์ หัวใจการบรรลุเป้าหมายองค์กร คือ การเน้นผู้รับผลงานเป็นศูนย์กลาง การทำงานเป็นทีม การทบทวนประเมินตนเองทุกระดับ การปรับปรุงวิธีการทำงานอย่างต่อเนื่อง

การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ กระบวนการดูแลผู้ป่วย ตอนที่ I การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ตอนที่ IV ด้านการดูแลผู้ป่วย ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลขององค์กร ด้านการนำและสังคม ด้านสร้างเสริมสุขภาพ การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล การนำ ผลลัพธ์ การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ ตอนที่ II ระบบงานสำคัญของ รพ. ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง

การเตรียมตัวก้าวสู่กระบวนการรับรอง โรงพยาบาลคุณภาพในปี2556-2557

ทำ 4 พื้นที่ ภายใต้ 6 เครื่องมือพัฒนา 4 Domains & 6 QI Tracks ทำ 4 พื้นที่ ภายใต้ 6 เครื่องมือพัฒนา 2. Patient Safety 3. Clinical Population 1. Unit Optimization 4. Standard Implementation 5. Self Assessment 6. Strategic Management

1.Unit Optimization พื้นที่ในการพัฒนาระดับหน่วยงาน

หลักการง่ายๆของHA คือใช้ 3 P พื้นฐานการพัฒนาคุณภาพ Purpose Process Performance สิ่งที่ทำมี เป้าหมายอย่างไร กระบวนการทำอย่างไร ให้บรรลุเป้าหมาย จะวัดผลอย่างไร มีตัวชี้วัดอะไร จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร ใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง CQI : Continuous Quality Improvement 3P ในงานประจำวัน 3P ในโครงการพัฒนาคุณภาพ 3P ในระดับหน่วยงาน (service profile) 3P กับการพัฒนาระบบงาน 3P กับการดูแลผู้ป่วย (clinical tracer) 3P กับการบริหารองค์กร (strategic management) และเมื่อจะทำอะไรให้ใช้หลัก 3 P ตลอดทั้งการทำงาน และใช้ตอบคำถามตอนการตรวจประเมิน ****

สิ่งที่ต้องทำ บูรณาการในงานประจำทั้งระดับหน่วยงาน และระดับองค์กร 1.ใช้หลัก 3 P (Purpose Process Performance) บูรณาการในงานประจำทั้งระดับหน่วยงาน และระดับองค์กร สาเหตุ กำหนดเป้าหมาย กระบวนการ ผลที่เกิดขึ้น 2.หัวหน้าพาทำคุณภาพ ให้ลูกน้องมีส่วนร่วม 3. กิจกรรมคุณภาพื้นฐานต่าง ๆ เช่น 5 ส. KM พฤติกรรมบริการสู่ความเป็นเลิศ 4. Service Profile เน้นผู้รับบริการ สามารถสะท้อนการบริหารจัดการในหน่วยงานมีเป้าหมายชัดเจนหรือไม่ สอดคล้องกับบริบทหน่วยงานหรือไม่

สิ่งที่ต้องทำ 5. กิจกรรมทบทวน 12 กิจกรรมทบทวน ให้สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน ช่วยแก้ปัญหา เป็นมาตรการป้องกัน 6.กิจกรรมพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน เช่นมีโครงการต่างๆ มีเป้าหมายชัดเจน 7. การเชื่อมโยงเป้าหมายของหน่วยงานกับตัวชี้วัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพต้อง เกิดจาก AE หรือตัวชี้วัดที่ยังไม่บรรลุ

2.Patient Safety ความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย

สิ่งที่ต้องทำ 1.หัวหน้าต้องทบทวนกิจกรรมต่างๆของหน่วยงานอย่างสม่ำเสมอ 2.ใช้ประโยชน์จากกิจกรรมทบทวน เช่น เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ และนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เช่น มีการส่งต่อที่มีปัญหาและนำมาทบทวนพัฒนาเชิงระบบระบบ 3. หาสาเหตุของปัญหา RCA 5 Why 4.ตามรอย Patient Safety Goal ใช้ SIMPLE เป็นเครื่องมือ ไปตามรอยเพื่อหาส่วนขาด 5.ทบทวนระบบบริหารความเสี่ยง ทีม RM ต้องทบทวนระบบ 6.โปรแกรมต่างๆในระบบบริหารความเสี่ยง ต้องบูรณาการข้อมูลโปรแกรมต่างๆเข้าด้วยกัน

3.Clinical Population กลุ่มประชากรทางคลินิก

สิ่งที่ต้องทำ 1.PCT กำหนดโรคที่สำคัญ เช่น โรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง โรคที่มีผลการรักษา โรคที่ต้องสร้างเสริมสุขภาพ หรืออื่นๆ 2.กำหนดเป้าหมายของแต่ละโรค ให้ชัดเจน 3.ตามรอยโรคใช้ 13 ขั้นตอน เพื่อดูวิธีการปฏิบัติที่ดี และเห็นโอกาสพัฒนามีอะไรบ้าง 4.ทบทวนประเด็นการพัฒนาอีกครั้งและดำเนินการพัฒนา 5.สรุป Clinical Tracer Highlight

4. Standard Deployment การนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ

สิ่งที่ต้องทำ 1.เข้าใจความหมายของ SPA S มาตรฐาน อะไรที่เป็น Key word ของมาตรฐานของข้อนั้นๆ

(3) ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้ออยู่บนพื้นฐานของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย การปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ เป็นไปตามข้อกำหนดในกฎหมาย และจัดทำแนวทางปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร. กิจกรรมที่ควรดำเนินการ • ICN และคณะกรรมการ IC ร่วมกันเลือกสรร scientific evidence (หลักฐานวิธีการที่ได้รับการพิสูจน์ว่าได้ผลจากการศึกษาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์) ที่ update จากแหล่งที่เหมาะสม เช่น CDC, ชมรมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล • นำข้อมูลหลักฐานดังกล่าวมาเปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบัติงานที่ใช้อยู่ (ถ้ามีการจัดทำไว้แล้ว) ทบทวนแนวทางปฏิบัติให้ทันสมัยกับ evidence • ทำ gap analysis เพื่อหาช่องว่างของการปฏิบัติกับมาตรการที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว กำหนดเป้าหมายและแผนการปรับปรุง • จัดทำแนวทางปฏิบัติงานเท่าที่จำเป็น เพื่อเป็นที่ใช้อ้างอิง ทำความเข้าใจ และธำงให้การปรับปรุงที่เกิดขึ้นมีความยั่งยืน ประเด็นที่ควรตอบในแบบประเมินตนเองโดยสรุป • ตัวอย่าง scientific evidence ที่นำมาใช้ในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ S P SPA ย่อมาจาก Standards – Practice – Assessment เดิม รพ.สนใจทำเอกสารประเมินตนเอง SA โดยให้ความสำคัญกับการนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติน้อย การเพิ่ม P เข้ามาแทรกใน SA เป็นการส่งสัญญาณให้เห็นความสำคัญของการปฏิบัติ เพื่อให้มาตรฐานนั้นเกิดประโยชน์ต่อองค์กรอย่างแท้จริง Practice หรือ “กิจกรรมที่ควรดำเนินการ” คือการขยายความมาตรฐานให้มีความชัดเจนว่ารูปธรรมในการปฏิบัติควรเป็นอย่างไร การขยายความนี้สามารถเชื่อมต่อมาตรฐาน HA/HPH กับมาตรฐานอื่นๆ รวมทั้งชี้แนวทางที่ไปไกลกว่ามาตรฐาน เช่น การดูแลด้วยหัวใจและความรัก Assessment หรือ “ประเด็นที่ควรตอบในแบบประเมินตนเองโดยสรุป” คือการระบุเฉพาะส่วนสำคัญจริงๆ ที่ รพ.ควรนำมาตอบในเอกสารประเมินตนเอง เพื่อลดภาระงานการจัดทำเอกสาร โดยมีจุดเน้นที่บทเรียนและผลลัพธ์ของการนำมาตรฐานไปปฏิบัติ เป็นบทเรียนที่ผ่านการวิเคราะห์ประเด็นสำคัญร่วมกันในทีมงานที่เกี่ยวข้อง A นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล “คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA” 10th HA National Forum 12 มีนาคม 2552

สิ่งที่ต้องทำ ถอดรหัสมาตรฐาน เพื่อให้เกิดความเข้าใจมาตรฐานแต่ละเรื่องอย่างลึกซึ้ง ควรพิจารณาในประเด็นต่อไปนี้ ผู้เกี่ยวข้อง ใครเป็นคนทำ ใครเป็นคนได้ เป้าหมายของมาตรฐาน คนได้จะได้รับคุณค่าอะไร ขั้นตอนที่ควรดำเนินการมีอะไรบ้าง บริบทที่เกี่ยวข้อง อะไรคือปัญหาขององค์กรในเรื่องนี้

บทบาทของทีมนำเฉพาะด้าน ประเมินตนเองตามSAR2011 (คำอธิบายมาตรฐานคือเนื้อหาในSPA) กำหนดนโยบายด้านนั้น ๆ ให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ยึดถือปฏิบัติ ถ่ายทอด สื่อสารนโยบาย ติดตามผลการปฏิบัติตามนโยบาย สรุปผลงานในภาพรวม SAR ; self assesment review แบบประเมินตนเองระดับองค์กร SPA : Standard Practice Assesment

วันนี้มาดูสิ..ว่าทีมนำเฉพาะด้านเน้น HILIGHT อะไรกันบ้าง..

สรุปจุดเน้นของทีมนำเฉพาะด้าน เน้นเรื่อง ประสิทธิภาพช่องทางการค้นหา ความเสี่ยง และช่องทางการตอบกลับความเสี่ยง เน้นเรื่องNearmiss (ความเสี่ยงเชิงรุก) เน้นระบบบริหารความเสี่ยงภาพรวม 7 โปรแกรม 4 ระดับความรุนแรง PSG : การป้องกันการติดเชื้อในรพ TB :Medication errorความคลาดเคลื่อนทางยา ทีมที่ 1 บริหารความเสี่ยง RM

สรุปจุดเน้นของทีมนำเฉพาะด้าน เน้นเรื่อง Clinical Tracer Hilight การตามรอยคุณภาพสำคัญ เน้นเรื่องกระบวนการดูแลผู้ป่วย เน้น5 โรคสำคัญคือ DM HT COPD MI TB ตัวชี้วัดคลินิกสำคัญ High Alert Drug แนวการตอบคำถาม ทีมที่ 2 ทีมนำทางคลินิกPCT

สรุปจุดเน้นของทีมนำเฉพาะด้าน เน้นเรื่อง ซ้อมแผนอัคคีภัยบนโต๊ะ เน้นเรื่อง ซ้อมแผนอุบัติเหตุบนโต๊ะ เน้นการใช้เครื่องดับเพลิง ทีมที่ 3 ทีมENV

สรุปจุดเน้นของทีมประสานงานคุณภาพ เน้นเรื่อง ความหมายHA มาตรฐาน HA มี 4 ตอนหลักและมีการแบ่ง หน้าที่ตามโครงสร้างคุณภาพ เน้นเรื่อง 3 P แทรกในการทำงานประจำ เน้นบทบาทของทุกระดับ

บทบาทของหน่วยงาน ทบทวน Service Profile (แบบประเมินตนเองระดับหน่วยงาน) สรุปเรื่องราวการพัฒนาจากอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ความเสี่ยงสำคัญ ผลงานตามรอยคุณภาพ วิจัย ผลงานตามตัวชี้วัด 3 ปีย้อนหลัง

บทบาทของเจ้าหน้าที่ทุกคน รับทราบนโยบายจากหัวหน้างาน นำ 3 P มาใช้เป็นแนวทางตลอด ตนเอง - ทำงานอะไร ทำเพื่ออะไร ทำได้ดีหรือไม่ จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร หน่วยงาน - มีเป้าหมายอะไร ทำได้ดีหรือไม่ จะทำให้ดีขึ้น ได้อย่างไร รพ. - มีเป้าหมายอะไร มีส่วนช่วยให้ รพ.บรรลุเป้าหมาย ได้อย่างไร ทบทวนว่าตนเองเกี่ยวข้องกับนโยบายอย่างไร นำนโยบายสู่การปฏิบัติงานในหน่วยงาน ประเมินผลการปฏิบัติงาน รายงานผลการปฏิบัติงาน

Share & Learn

After Action Review (AAR) ทบทวนความคาดหวังที่เข้าร่วม Workshop นี้ คืออะไร? อะไรบ้างที่ได้ เกิน ความคาดหวังที่ตั้งไว้ เพราะอะไร? อะไรบ้างที่ได้ น้อย กว่าความคาดหวังที่ตั้งไว้ เพราะอะไร? ตัวเองจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ กลับไปทำอะไร? สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.)

Thank You ! www.themegallery.com