สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ ปฐมภูมิ และการพัฒนาระบบ สุขภาพ ระดับอำเภอ (DHS) นพ. สมพงษ์ จรุงจิตตานุสนธิ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบสุขภาพระกับอำเภอ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แผนพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
คณะพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย การขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) District Health System (DHS) ปี 2558 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

ระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) District Health System (DHS) ระบบการทำงานด้านสุขภาพระดับอำเภอร่วมกันของทุกภาคส่วนด้วยการบรูณาการทรัพยากรภายใต้บริบทของพื้นที่ที่ผ่านกระบวนการชื่นชม และการจัดการความรู้ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้ง โดยมีเป้าหมายร่วมกัน เพื่อสุขภาวะของประชน

สภาพปัญหา/สถานการณ์ผลงาน Cause effect สภาพปัญหา/สถานการณ์ผลงาน การเข้าถึงบริการและความครอบคลุมการให้บริการ สถานบริการผ่านเกณฑ์คุณภาพต่ำ บุคลากรขาดศักยภาพการให้บริการ การมีส่วนร่วมจากทุกภาคีสุขภาพ การเข้าถึงบริการของประชาชน ปัญหาความครอบคลุมการจัดบริการ ตามกลุ่มวัย/service plan KPI ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบ บริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ( > ร้อยละ 80) ศักยภาพ DHS มาตรการ ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับบริการพื้นฐานและสามารถดูแลตนเองได้ ประชาชนเข้าถึงบริการ ที่ ศสม./รพ.สต.ที่มีคุณภาพ หน่วยบริการสามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านสุขภาพด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ตำบล ลดอัตราป่วยในโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพในพื้นที่ จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ฟื้นฟูและการสามารถดูแลตนเองได้ เพิ่มการเข้าถึงและครอบคลุมบริการปฐมภูมิ พัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ ตาม องค์ประกอบ UCARE มาตรการสนับสนุน การพัฒนาโครงสร้างสถานที่และครุภัณฑ์ ระบบสนับสนุน พัฒนาบุคลากร แบ่งปันทรัพยากร Result

มาตรการเพิ่มการเข้าถึงและความครอบคลุมบริการ มาตรการจัดบริการpp &Rehab จัดบริการบูรณาการตามกลุ่มวัย/service plan/ Essential Care ส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้ (self Care) กระจายผู้ป่วยโรคเรื้อรัง DM HT กลับไป ศสม./รพ.สต. จัดตั้ง ศสม.จัดบริการให้ครอบคลุม ปชก./พื้นที่ ปชก.หนาแน่น แหล่งท่องเที่ยว (ปี58 =วพ.,ชค.) มีการจัดบริการให้ครบทั้ง Acute และ chronic Care ชันสูตร ทันตกรรม ER ส่งต่อ การเยี่ยมบ้าน Home Care/LTC end of life เป็นต้น 2. 1A&4C 1. PP& Rehap มาตรการเพิ่มการเข้าถึงและความครอบคลุมบริการ มาตรการจัดบริการpp &Rehab 3. DHS เข้มแข็ง มาตรการ พัฒนาDHS มาตรการสนับสนุน การพัฒนาสถานที่และครุภัณฑ์ การพัฒนาคุณภาพบริการ พัฒนาเครือข่าย/จัดระบบสนับสนุน /จัดแพทย์ที่ปรึกษา การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ลปรร. CBL PCA R2R วิจัย ความพึงพอใจ แบ่งปันทรัพยากร คน เงิน ของ ข้อมูล คณะกรรมการ DHS/ คปสอ. จัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการและแผนการติดตามประเมินผล ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ กับชุมชนและท้องถิ่น อย่างมีส่วนร่วม (one district one plan) แผนบรูณาการ 5 กลุ่มวัย/service plan 10 สาขา /Essential Care แผนการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ (อำเภอ ตำบล หมู่บ้านจัดการสุขภาพ) พัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง,บริการแพทย์แผนไทย,สุขภาพจิตชุมชน,ฟื้นฟู พัฒนาระบบคุณภาพ (PCA คปสอ.ติดดาว รพ.สต.ติดดาว) แพทย์ที่ปรึกษา เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน พัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ภาคประชาชน ความร่วมมือกับท้องถิ่นในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณสาธารณะ

กรอบแนวคิดของระบบสุขภาพระดับอำเภอ(Conceptual Framework) ประชาชนมีสุขภาวะ สถานะสุขภาพของประชาชนดี สามารถป้องกันภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ ระบบบริการที่ดีมีคุณภาพ ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ตอบสนองความต้องการของประชาชน สร้างเครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนในการจัดการสุขภาพชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุน ประชาชนและชุมชนร่วมกันดูแลสุขภาพ พึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้ครอบคลุม มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ พัฒนาการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการรับความเสี่ยงจากปัจจัยทางสังคมอันคุกคามสุขภาพ หลัการดำเนินงานของระบบสุขภาพระดับอำเภอ การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ (Unity District Health team : U ) การมีส่วนร่วมของเครือข่าย (Community participation: C ) การทำงานจนเกิดคุณค่าทั้งผู้รับและผู้ให้บริการ (Appreciation and Quality: A ) การแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร (resource sharing and development: R ) การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care :E )

การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิ