งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
นายแพทย์จักราวุธ จุฑาสงฆ์ นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร

2 ทบทวนการทำงานของ DHS-FCT ปี ๒๕๕๘
Service Delivery DHS, FCT, Essential care (ODOP), Service Plan, บริการตามกลุ่มวัย Health Workforce จัดและพัฒนาทีมหมอครอบครัว, CM, CG, อสม.นักบริบาล Information มีข้อมูล ๓ กลุ่มเน้นหนัก, จัดทำข้อมูล ๕ กลุ่มวัย Medical product & Technologies Recourse sharing (คน เงิน ของ) Financing Single plan, Single management leadership Governance RBM

3 ทบทวนบทเรียนการพัฒนา
บทเรียนการพัฒนา DHS-FCT เพื่อการดูแลกลุ่มที่ต้องดูแลต่อเนื่อง DHS 2015 เป้าหมาย 1. ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับบริการพื้นฐาน 2. ลดอัตราป่วย/ตายในโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ 3. มีระบบสุขภาพอำเภอที่เข้มแข็ง 4. มี FCT ที่ครอบคลุมและจัดบริการที่มีคุณภาพ FCT ๓ ระดับ การดูแลแบบองค์รวมที่ต่อเนื่อง -ผู้สูงอายุ -ผู้พิการ -ผู้ป่วยประคับประคอง Care Manager นำร่อง อสม. + Care Giver ทบทวนบทเรียนการพัฒนา Service Delivery -การออกแบบบริการในการดูแลอย่างต่อเนื่อง โดย FCT-CM-CG ภาคี ยังมีรอยต่อ Health Workforce -บทบาท FCT-CM-CG ภาคี ยังไม่สนับสนุนการดูแลต่อเนื่อง -การกำหนดผู้ประสานยังมีรูปแบบที่แตกต่างในแต่ละพื้นที่ Information -มีและใช้ข้อมูลการดูแลผู้ป่วย ๓ กลุ่มวัย คนละชุดข้อมูล -ข้อมูลในระบบไม่สนับสนุนการดูแลต่อเนื่อง Medical Product/ Technology -การบริหารจัดการระบบสนับสนุนการดูแลต่อเนื่องเป็นแบบแยกส่วน Financing การจัดการงบประมาณเพื่อสนับสนุนการดูแลต่อเนื่องยังไม่เพียงพอ Governance ไม่มีคณะทำงานเพื่อสนับสนุนการดูแลต่อเนื่อง

4 เป้าประสงค์ กำหนดทิศทางการพัฒนาภายใต้ SIM 3 Situation analysis
เข้าถึงบริการ ลดอัตราป่วย/ตายในโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ลดความแออัด พัฒนามาตรฐานบริการ กำหนดทิศทางการพัฒนาภายใต้ SIM 3 Situation analysis วิเคราะห์สถานการณ์ทุกมิติ รับฟังเสียงสะท้อนชุมชน ภาคี Structure จัดโครงสร้างทั้งระดับเขต จังหวัด อำเภอ ตำบล (DHS-FCT) Strategy มีแผนยุทธศาสตร์ระดับอำเภอ ตำบล Information พัฒนาระบบ Primary dataset, ฐานข้อมูล 5 กลุ่มวัย Integration พัฒนาระบบบูรณาการ และ Sharing Implement & Innovation ปรับยุทธศาสตร์ที่เชื่อมโยงกลุ่มวัย และ Service plan ที่เป็นรูปธรรม Monitor &Evaluation พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลทุกขั้นตอน เน้น Utilizing และ Continuing

5 ทิศทางระบบสุขภาพเขตสุขภาพที่ ๑๐
2019/5/28 ทิศทางระบบสุขภาพเขตสุขภาพที่ ๑๐ “ประชาชนเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ ประสานชุมชน Self Care” Vision Goal เข้าถึงบริการ ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย ลดความแออัด ลดค่าใช้จ่าย และมาตรฐานบริการ บูรณาการ DHS กับ การดูแลสุขภาพกลุ่มวัย และ Service Plan Strategy พัฒนาศักยภาพ FCT ด้านเวชศาสตร์ ครอบครัว และทีม M&E พัฒนาระบบสุขภาพอำเภอโดยใช้หลักธรรมาภิบาล พัฒนาระบบสนับสนุนระบบสุขภาพอำเภอ เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารการเงิน การคลัง พัฒนาระบบการจัดการสารสนเทศสุขภาพ 5

6 แพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว Mini Care Giver หมู่บ้านละ 2 คน
ทิศทางการพัฒนาระบบสุขภาพ ปี ๒๕๕๙ การพัฒนาโครงสร้างกลไกการทำงาน (Structure) Intensive course แพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว DHS: สสอ. FCT: สสอ./รพ. CoC: รพ. PM-DHS สสอ.+รพ. PM-ODOP พัฒนาเครือข่าย CM+CG+FCT Mini Care Manager ทุก รพ.สต. Mini Care Giver หมู่บ้านละ 2 คน อสม. ญาติ/จิตอาสา

7 ๑. ขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอตามเกณฑ์ UCCARE
กลยุทธ์ที่ ๑ บูรณาการ DHS กับการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย และ Service plan เป้าหมาย ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ กับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐) ชุดกิจกรรม ๑. ขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอตามเกณฑ์ UCCARE ๑) ODOP/OTOP (๗๐ อำเภอ/๖๑๑ ตำบล) - เบาหวาน/ความดัน - พัฒนาประเด็นตามบริบทพื้นที่ (มากกว่า ๑ ประเด็น) ๒) พัฒนาศักยภาพทีมด้วยแนวคิด DHML

8 ๑) การ Screening ระดับชุมชน (อสม. ปฐมภูมิ)
กลยุทธ์ที่ ๑ บูรณาการ DHS กับการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย และ Service plan ชุดกิจกรรม ๒. เชื่อมโยง SP/DHS ๑) การ Screening ระดับชุมชน (อสม. ปฐมภูมิ) ๒) Early treatment and Refer ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ๓) ใช้กระบวนการ CBL เพื่อเชื่อมโยง Service Plan ๑๑ เรื่อง ๔) จัดทำ CPG ๑๑ เรื่องสู่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ

9 ๓. พัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
กลยุทธ์ที่ ๑ บูรณาการ DHS กับการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย และ Service plan ชุดกิจกรรม ๓. พัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง -เป็นศูนย์ประสานการดูแลกลุ่มเป้าหมาย ๓ กลุ่มหลัก และอื่นๆที่จำเป็น -เป็นศูนย์ข้อมูลในการบริหารจัดการ และข้อมูลเพื่อคืนแก่ท้องถิ่น ชุมชน -เป็นศูนย์วัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ สนับสนุนการทำงานของทีมหมอครอบครัว -เป็นศูนย์พัฒนา CM, CG ร่วมกับ PM-ปฐมภูมิ

10 กลยุทธ์ ๒ พัฒนาศักยภาพ FCT ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและ ทีม M&E
เป้าหมาย ๑. ทีมสหวิชาชีพมีทักษะการทํางานโดยใช้แนวคิดของเวชศาสตร์ครอบครัว ๒. ทีมสุขภาพอำเภอมีสมรรถนะด้านการจัดการระบบสุขภาพ ชุดกิจกรรม ๑. พัฒนา PM ปฐมภูมิ (จังหวัด/สสอ.รพ.) ๒. พัฒนา CM (MINI CM ทุก รพ.สต.) หลักสูตร ๕ วัน ๓. พัฒนา CG (หลักสูตร ๗๐ ชั่วโมง รพ.สต.ละ ๓-๕ คน) ๔. พัฒนา อสม.นักบริบาล ฯ (รพ.สต.ละ ๑๐คน ) ๕. พัฒนาศักยภาพทีมหมอครอบครัวให้ครอบคลุมทุกวิชาชีพ ๖. สนับสนุนการวิจัย R2R นวัตกรรมในการแก้ปัญหาสุขภาพเชื่อมโยง DHS

11 กลยุทธ์ ๓ พัฒนาระบบการจัดการสารสนเทศสุขภาพ
๑. มีคณะกรรมการเพื่อบริหารจัดการระบบสารสนเทศ ๒. มีและใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนระบบสุขภาพอำเภอ เป้าหมาย ชุดกิจกรรม คกก.จัดการสารสนเทศระดับอำเภอ จังหวัด เขต (Information management) ๑. พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการจัดบริการของ FCT ระดับอำเภอ/จังหวัด/เขต (กลุ่มเสี่ยงตามกลุ่มวัย, ข้อมูลการเยี่ยมบ้าน, ข้อมูลการรักษาผู้ป่วย) ๒. จัดระบบสื่อสารระหว่างหมอครอบครัว (Tel, Line, Facebook) ๓. พัฒนาศูนย์ข้อมูลการส่งต่อ (การส่งต่อผ่านระบบออนไลน์ การวิเคราะห์ข้อมูล การคืนข้อมูล) 11

12 กลยุทธ์ ๓ พัฒนาระบบการจัดการสารสนเทศสุขภาพ
การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ (Information) ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ระดับจังหวัด 5 กลุ่มวัย ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู คบ. ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ระดับอำเภอ ระบบการจัดเก็บข้อมูล ระดับตำบล ชุมชน ชุมชน ชุมชน

13 กลยุทธ์ ๔: พัฒนาระบบสนับสนุนระบบสุขภาพอำเภอ
เป้าหมาย มีระบบสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอที่มีประสิทธิภาพ ชุดกิจกรรม ๑. พัฒนาระบบ LOGISTIC ในระบบงานที่สำคัญ ๒. สนับสนุนเครื่องมือในการปฏิบัติงานและการพัฒนา FCT ๓. พัฒนาการจัดการความรู้ในองค์กร ๔. พัฒนาระบบยาเป็นระบบเดียวกันและเชื่อมโยงกับแม่ข่าย 13

14 กลยุทธ์ ๕: เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง
2019/5/28 กลยุทธ์ ๕: เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง ๑. มี single plan ครอบคลุม ๕ กลุ่มวัย/SP ๑๑ สาขา ทุกอำเภอ ๒. ร้อยละ ๘๐ ของงบกองทุนสุขภาพตำบลที่สนับสนุน PP ๓. บูรณาการระบบกองทุนสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาพอำเภอ เป้าหมาย ชุดกิจกรรม ๑. การจัดทำ Single Plan ระดับอำเภอ ๒. คณะกรรมการบูรณาการ งบ PP และกองทุนสุขภาพตำบล โดยใช้ Single management ๓. สนับสนุนกลไกการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพในชุมชน เพื่อการดูแลสุขภาพชุมชน 14

15 กลยุทธ์ ๖: พัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ โดยใช้หลักธรรมาภิบาล
ประชาชน และทีมสุขภาพ มีความสุข ความเชื่อมั่น ศรัทธา และมีส่วนร่วมต่อระบบสุขภาพอำเภอ เป้าหมาย ชุดกิจกรรม ๑. สร้างเสริมคุณค่าและศักดิ์ศรีระบบ DHS ด้วยกิจกรรมเชิดชูเกียรติ เผยแพร่ผลงาน ๒. สร้างวัฒนธรรมร่วมในระบบสุขภาพ ด้านโปร่งใส รับผิดชอบ หัวใจความเป็นมนุษย์) -ระดับอำเภอ จังหวัด เขต -ระดับวิชาชีพ -ระดับบริการ 15

16 กลยุทธ์ ๖: พัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ โดยใช้หลักธรรมาภิบาล
ชุดกิจกรรม ๓ เยี่ยมเสริมพลังตามหลัก DHS-PCA เป้าหมาย เยี่ยมเสริมพลัง ในระดับอำเภอ/จังหวัด/เขต ครบทุกอำเภอ ๑) เยี่ยมเสริมพลังระดับเขต โดยตัวแทนของจังหวัด ทุกอำเภอ ๒) เยี่ยมเสริมพลังระดับจังหวัด โดยครู ก/ข ทุกอำเภอ ใช้ระบบไขว้ หรือตามแนวทางของแต่ละจังหวัด

17


ดาวน์โหลด ppt คณะพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google