ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์ เขต 8,9
สถานการณ์โรคเอดส์ประเทศไทย อัตราป่วยด้วยโรคเอดส์ต่อประชากรแสนคน 10 อันดับแรกของประเทศ จำแนกตามวันเริ่มป่วยปีพ.ศ. 2546 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2547
จำนวน ร้อยละผู้ป่วยเอดส์/ผู้ติดเชื้อที่มีอาการ เขต 8 จำแนกรายจังหวัด ตั้งแต่ปี 2527- 31 มีนาคม 2547
จำนวน ร้อยละผู้ป่วยเอดส์/ผู้ติดเชื้อที่มีอาการ เขต 9 จำแนกรายจังหวัด ตั้งแต่ปี 2527- 31 มีนาคม 2547
แผนภูมิ การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี เฉพาะพื้นที่ กลุ่มชาวประมง เขต 9 รายจังหวัด ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2542- พ.ศ. 2546 ร้อยละ จ. เขต 8 ไม่ได้ดำเนินการ จ.เขต 9 ได้แก่ ระยอง ,จันทบุรี ไม่ได้ดำเนินการ
แผนภูมิ การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี เฉพาะพื้นที่ เปรียบเทียบกับการรายงานการติดเชื้อ HIV ประจำเดือน (PHRIM) กลุ่มผู้มาฝากครรภ์ เขต 8,9 รายจังหวัด ปี พ.ศ. 2546
ผลการดำเนินงานในรอบ 6 เดือน ทุกจังหวัดในเขต 8 และ เขต 9 ได้ดำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ทั้งด้าน ป้องกัน รักษา ศึกษาวิจัย และการพัฒนาบุคลากร โดยมีโครงการนอกเหนือจากงานปกติได้แก่ โครงการ ASO จ.ระยองและฉะเชิงเทรา ดำเนินการ
ผลการดำเนินงานในรอบ 6 เดือน โครงการ Teen Care จ.จันทบุรี ดำเนินการ โครงการจัดตั้งกองทุนโดยเครือข่ายอสม. จ.สระแก้ว ดำเนินการ โครงการกองทุนเฉลิมพระเกียรติของแม่บ้านมหาดไทย โครงการวัคซีนเอดส์ทดลอง ฯลฯ
ผลการดำเนินงานโครงการยาต้านไวรัส จำแนกรายเขต รายจังหวัด ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2546 - มีนาคม 2547
ปัญหา 1. การติดเชื้อ HIV ในกลุ่มหญิงมีครรภ์สูงกว่าตัวชี้วัดทั้งระดับเขตและประเทศ 2. เยาวชนมีการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งในการมีเพศสัมพันธ์ อยู่ในเกณฑ์ต่ำ 3. การใช้ถุงยางอนามัยในหญิงขายบริการทางเพศมีแนวโน้มลดลง
แนวทางการดำเนินงานในรอบ 6 เดือนหลัง ดำเนินการจัดประชุมการประเมินผลการดำเนินกิจกรรมเอดส์ Focal Point อย่างต่อเนื่อง (2 เดือน/ครั้ง) ศึกษาวิจัย ระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน
ขอขอบคุณ