ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ. 2546 หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

กองคลัง ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ ยุทธศาสตร์กองคลัง
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
หมวด4 10 คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถใน การ ป้องกันและลดผลกระทบ จากสาธารณภัย สำนักนโยบายป้องกันและ.
ชุมพรน่าอยู่ ประตูทอง ๒ ฝั่งทะเล        แผนยุทธศาสตร์ โครงการ PMQA ๑ การนำองค์กร PMQA ๒ การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ PMQA ๓ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
กรมชลประทาน ศูนย์ ความรู้ กลาง. Website :
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
KM Refreshing Course การจัดการความรู้ กรมชลประทาน.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การจัดการความรู้ของ วศ. ปี 2549
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า “… ส่วนราชการ มีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วน ราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูล ข่าวสารและสามารถประมวล ผลความรู้ในด้าน ต่าง ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ ราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเหมาะสม กับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและ พัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการใน สังกัด ให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมี การเรียนร่วมกัน ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการ ปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ให้สอดคล้อง กับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตาม พระราชกฤษฎีกานี้...”

กรมชลประทาน จึงได้ดำเนินการ จัดการความรู้มาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ. ศ เป็นต้นมาโดยได้กำหนดแผนการ จัดการความรู้ เพื่อสนับสนุนประเด็น ยุทธศาสตร์กรมชลประทาน ตามแนวทาง การจัดการความรู้และการบริหารการ เปลี่ยนแปลง ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ 1. กระบวนการจัดการ ความรู้ 1.1 การบ่งชี้ความรู้ 1.2 การสร้างและการ แสวงหาความรู้ 1.3 การจัดการความรู้ ให้เป็นระบบ 1.4 การประมวลและ กลั่นกรองความรู้ 1.5 การเข้าถึงความรู้ 1.6 การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้ 1.7 การเรียนรู้ 2. กระบวนการบริหาร จัดการเปลี่ยนแปลง 2.1 การจัดการ เปลี่ยนแปลงและ พฤติกรรม 2.2 การสื่อสาร 2.3 กระบวนการและ เครื่องมือ 2.4 การฝึกอบรมและการ เรียนรู้ 2.5 การวัดผล 2.6 การยกย่องชมเชย และให้รางวัล

1. แผนการจัดการความรู้เพื่อ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปีงบประมาณ ขอบเขต KM (KM Focus Area) ที่ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือก ดำเนินการในปี 2549 คือ การจัดหาน้ำเพื่อ การเกษตรอย่างเพียงพอ 2. เป้าหมาย Km ( Desired Statd) ที่สอดรับ กับของเขตของ KM คือ กรมฯสามารถจัดการความรู้ด้านการ ก่อสร้างโครงการชลประทานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. หน่วยวัดที่วัดผลได้เป็นรูปธรรมตาม เป้าหมายของ KM คือจำนวนหน่วยงาน ระดับสำนัก / กอง ที่นำระบบการจัดการ ความรู้ด้านการก่อสร้างโครงการชลประทาน ไปใช้จริง 4. กิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ กำหนดกิจกรรมตามหัวข้อในกระบวนการ จัดการความรู้และกระบวนการ บริหาร จัดการเปลี่ยนแปลง

2. แผนการจัดการความรู้เพื่อ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปีงบประมาณ 2550 ในปีงบประมาณ 2550 กรมได้เห็นชอบ ให้มีการดำเนินการจัดการความรู้เพื่อ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์กรม จำนวน 2 แผน คือ 1. แผนการจัดการความรู้ด้าน กระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดหาน้ำ เพื่อ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ การ จัดหาน้ำเพื่อการเกษตรอย่าง เพียงพอ 2. แผนการจัดการความรู้ด้านการ บริหารจัดการน้ำท่า เพื่อสนับสนุน ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ป้องกันภัยจากน้ำ

3. แผนการจัดการความรู้เพื่อ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปีงบประมาณ 2551 ในปีงบประมาณ 2551 กรมได้เห็นชอบ ให้มีการดำเนินการจัดการความรู้ เพื่อ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์กรม จำนวน 2 แผน คือ 1. แผนการจัดการความรู้ด้านการสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้รับ บริการและ ผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อสนับสนุนประเด็น ยุทธศาสตร์การ บริหารจัดการน้ำ 2. แผนการจัดการความรู้ ด้านการ วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำ เพื่อ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ การป้องกันและ บรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ

ในปีงบประมาณ 2552 กรมชลประทานได้ เห็นชอบให้มีการดำเนินการ จัดการความรู้เพื่อ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ จำนวน 3 แผน คือ 1. แผนการจัดการความรู้ด้านกระบวนงานก่อสร้าง โครงการชลประทาน : การ ก่อสร้างโครงการเพื่อสนับสนุนประเด็น ยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งน้ำ 2. แผนการจัดการความรู้ด้านการบริหารจัดการ ชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วมด้านส่งน้ำ และบำรุงรักษา เพื่อสนับสนุนประเด็น ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการน้ำ 3. แผนการจัดการความรู้ด้านการการบริหาร จัดการน้ำในภาวะวิกฤติ : พัฒนา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการวิเคราะห์ สถานการณ์น้ำเพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ การป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ 4. แผนการจัดการความรู้เพื่อ สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปีงบประมาณ 2552