1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน 5. การดูแลผู้ป่วยโดยทีมสห สาขาวิชาชีพ 6. การมีส่วนร่วมในการสร้าง ชุมชนเข็มแข็ง 7. การกระตุ้นให้ชุมชนมีส่วนใน การดูแลสุขภาพตนเอง
8. การระบุกลุ่มเป้าหมายในการ ค้นหากลุ่มเสี่ยงรายโรค 10. การทำกิจกรรมฟื้นฟูผู้ป่วย และการติดตามเยี่ยมบ้าน 9. การมีส่วนร่วมในการวางแผน จำหน่ายผู้ป่วยทีม HHC 11. การจัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพ / ชมรมในชุมชน 12. การดูแลและส่งเสริมสุขภาพ เจ้าหน้าที่
1. การดูแลเฝ้าระวังผู้ป่วยติด เชื้อที่อยู่ในชุมชน 3. การติดเชื้อของเจ้าหน้าที่ / การได้วัคซีนป้องกันโรค 2. การสอบสวนโรค
1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยง พร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดใน รอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหา แนวทางปฏิบัติ เช่น เด็กไข้ชัก หลังการให้วัคซีน, การระบาด โรคในชุมชน, การเกิด ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยสูติ กรรม, การพบผู้ป่วยเบาหวานใน ดูแลต้องรับไว้ในโรงพยาบาล
4. การประสานของหน่วยงาน กับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการ ดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัย ของอาคารสถานที่ 5. การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน 3. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย ในหน่วยงาน 4. ความพร้อมและความพอเพียง ของเครื่องมือ
2. การบริหารยาค้าง stock 1. การเฝ้าระวังความ คลาดเคลื่อนทางยา 3. การบริหารยาช่วยชีวิต ฉุกเฉิน
1. การพัฒนา / การออกแบบ เวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของ การบันทึกเวชระเบียน 4. การรักษาความลับในเวช ระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพ ในเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ ประโยชน์ในการทบทวน