นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
โครงการปลุกพลังเปลี่ยนไทย Inspiring Thailand โครงการผนึกพลังขับเคลื่อนภาคพลเมือง สู่ประเทศไทยมิติ ใหม่ Solidarity for change.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน การส่งเสริมและพัฒนาเครือข่าย ศส.ปชต. สู่ความยั่งยืน ทิศทางการขับเคลื่อน ศส.ปชต. ให้มีความยั่งยืน.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่ สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงานภาคีคนไทยไร้พุง จรัล สามิบัติ นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่ mrsamibat@yahoo.com

การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง อปท. อารมณ์ สสจ ขับเคลื่อน พัฒนา สนับสนุน ช่วยเหลือ อาหาร คนไทยไร้พุง องค์กรทั่วไป กรม์อนามัย โรงเรียน ออกกำลังกาย

กิจกรรมการดำเนินงานระดับจังหวัด 1.การจัดตั้งคณะทำงานหลัก (CORE TEAM) 2.การคัดเลือก อปท/องค์กร/โรงเรียน ร่วมโครงการ 3.จัดทำแนวทางรวบรวมข้อเสนอขององค์กรที่เข้าร่วมโครงการ 4.พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย 5.รนรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างกระแสสังคม 6.รวบรวมผลการเฝ้าระวังคนไทยไร้พุง น้ำหนักส่วนสูง รอบเอว 7.รวบรวมลการประเมินพฤติกรรมสุขภาพของคนในองค์กร 8.ติดตาม กำกับ สนับสนุนและประเมินผล 9.ถอดบทเรียนแห่งความสำเร็จของการดำเนินงาน 6

ผลการดำเนินงาน นโยบายสร้างเสริมสุขภาพ การรนรงค์สื่อสารสาธารณะเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกาย การศึกษาวิจัยด้านการสร้างเสริมสุขภาพ จำนวนนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ จังหวัดที่มีการบูรณาการสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่

ผลการดำเนินงาน จังหวัดที่มีกลไกการ บูรณาการสร้างเสริมสุขภาพ มีโครงการรองรับในระดับจังหวัดและการจัดสรรทรัพยากรจากภาคส่วนต่างๆในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ องค์กรเข้าร่วมเป็นองค์กรต้นแบบคนไทยไร้พุงครบตามเป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน ประชากรกลุ่มเป้าหมายในชุมชนไร้พุงได้รับการพัฒนาศักยภาพและทักษะการสร้างเสริมสุขภาพสู่คนไทยไร้พุงครบตามเป้าหมาย อย่างน้อย 35,000 คน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล น้ำหนัก ส่วนสูงและวัดรอบเอว การบริหารจัดการ การดำเนินงานและระบบการติดตามประเมินผลและสนับสนุนอย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงาน มีผลการสรุปถอดบทเรียนความสำเร็จของการขับเคลื่อนองค์กรและชุมชนเป็นองค์กรไร้พุงต้นแบบ

ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการบริหารจัดการ การสื่อสาร ผู้บริหารสนับสนุน การวางแผนและบริหารจัดการ ภาคี/เจ้ามือ/เจ้าภาพ ภารกิจโครงการ Knowledge Management ความพอใจของลูกค้า การพัฒนาบุคลากร การสนับสนุน การติดตามและวิจัยประเมินผล

ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน การ ADVOCATE ผู้บริหารองค์กรไร้พุงอย่างต่อเนื่อง จนสามารถให้องค์กรกำหนดเป็นนโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพ การสื่อสารเชิงกว้างและพัฒนาสร้างความเข้มแข็งของชมรมภาคีเครือข่ายสื่อมวลชนท้องถิ่น การพัฒนาศักยภาพและทักษะการดำเนินงานคนไทยไร้พุงขององค์กรภาคีเครือข่าย กระบวนการวางแผนอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนในองค์กรคนไทยไร้พุง การพัฒนาศักยภาพและทักษะของประชากรกลุ่มเป้าหมายให้สามารถตั้งเป้าหมายการดูแลสุขภาพไม่ให้น้ำหนักเกินและอ้วนลงพุงพร้อมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายได้อย่างสอดคล้องกับวิถีชีวิต

ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน การวิเคราะห์ข้อมูล ความเชื่อมโยงของข้อมูลกับการบูรณาการงานที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาระบบข้อมูลและโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับองค์กรและชุมชนคนไทยไร้พุง เพื่อการติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน การจัดการความรู้ Knowledge Management เรื่องคนไทยไร้พุงแบบบูรณาการ สำหรับCORE TEAM ทุกระดับระดับอย่างต่อเนื่อง การสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายและกำหนดบทบาทความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานให้ชัดเจน พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่ดี พัฒนากระบวนการบริหารความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย

ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน การพัฒนาเทคโนโลยี่และนวัตกรรมด้านอาหารท้องถิ่นและการเคลื่อนไหวร่างกายที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตตามบริบทขององค์กรและชุมชน การพัฒนาชมรมสร้างสุขภาพและแกนนำคนไทยไร้พุงในองค์กร/ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม การจัดตั้งหรือพัฒนาศูนย์การเรียนรู้คนไทยไร้พุงในชุมชน การนิเทศติดตามและสนับสนุนเชิงวิชาการอย่างต่อเนื่องจนถึงระดับองค์กรคนไทยไร้พุงยังคงมีความจำเป็น

ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน สำหรับทีมงานระดับจังหวัด/ศูนย์เขต/กรมอนามัย การพัฒนาทีมงานอย่างต่อเนื่องสู่ภาวะการเป็นผู้นำการดำเนินงานคนไทยไร้พุง การพัฒนาทักษะบุคลากรที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง การสร้างบรรยากาศการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข การสร้างขวัญและกำลังใจให้ทีมงานคนไทยไร้พุง

การดำเนินงานคนไทยไร้พุงระดับเขต 1.การสรุปผลการดำเนินงาน ทบทวนองค์ ความรู้ และการจัดทำ KM/COP สำหรับCORE TEAM ของศูนย์อนามัยเขต 7.การสนับสนุนวิชาการ / KM สำหรับ CORE TEAM จังหวัดอย่างต่อเนื่อง 8. การสร้างกระแสคนไทยไร้พุงในระดับจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 2. การประสานงาน CORE TEAM สสจ.อย่างสม่ำเสมอ 9.การสุ่มเยียมติดตามผลดำเนินงานตามแผนขององค์กรคนไทยไร้พุงที่เป็นองค์กรหลัก 3. พัฒนาระบบข้อมูล/ระบบเฝ้าระวังและระบบรายงาน 4. การนิเทศงานผู้เกี่ยวข้อง ระดับจังหวัด 10.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ นำเสนอผลงาน 5. การประชุมทีมงานจังหวัดเป็นประจำ 11. การสรุปผลกรดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงาน 6. การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ประโยชน์ของคนไทยไร้พุง

ROAD MAP การดำเนินงานคนไทยไร้พุงระดับจังหวัด 1.การประชุมพัฒนาและ ทบทวนองค์ ความรู้ CORE TEAM บูรณาการของจังหวัด 7.การสุ่มประเมินคนไทยไร้พุงองค์กรหลัก 2. การประชุม KM ระดับจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 8. การประเมินพฤติกรรมสุขภาพของประชากรกลุ่มเป้าหมายในองค์กรคนไทยไร้พุง 3. ประชุมประเมินผลการดำเนินงานครึ่งปีและทบทวนปรับปรุงแผนการดำเนินงานในครึ่งปีหลัง 9. การจัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์กรคนไทยไร้พุงระดับจังหวัด 4. การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และสร้างกระแสคนไทยไร้พุงอย่างต่อเนื่อง 10.การประเมินผล 5. การร่วมอบรมแกนนำคนไทยไร้พุงในองค์กรด้าน อารมณ์ การออกกำลังกาย อาหารและโภชนาการ 11.การนำเสนอผลการดำเนินงาน 6. การประชุม/นิเทศงานคนไทยไร้พุงองค์กรหลักทุกเดือน

ROAD MAP การดำเนินงานคนไทยไร้พุงระดับองค์กร 1.การประชุมพัฒนาและ ทบทวนองค์ ความรู้เชิงบูรณาการ CORE TEAM ขององค์กร 7.การอบรม/ฝึกปฏิบัติแก่ประชากร กลุ่มเป้าหมาย อย่างต่อเนื่องทุกเดือน 1.การพัฒนาอารมณ์สร้างความเชื่อมั่น 2. เทคนิคการออกกำลังกายที่เหมาะสม 3.พฤติกรรมการกินอาหารคนไทยไร้พุง 2. การประชุม KM ภายในองค์กรอย่างต่อเนื่องทุกเดือน 3. ประชุมประเมินความก้าวหน้าการ ดำเนินงานครึ่งปีและทบทวนปรับปรุงแผนการดำเนินงานให้ทันเหตุการณ์ 8. การประเมินพฤติกรรมสุขภาพของประชากรกลุ่มเป้าหมายในองค์กรคนไทยไร้พุง 4. การรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และสร้างกระแสคนไทยไร้พุงภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง 9. การจัดเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์กรคนไทยไร้พุงระดับองค์กร 5. การอบรมแกนนำคนไทยไร้พุงในองค์กรให้เป็นผู้นำในชุมชนด้าน อารมณ์ การออกกำลังกาย อาหารและโภชนาการ 10.การประเมินผล 6. การชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง/วัดรอบเอว 11.การนำเสนอผลการดำเนินงาน

Thank You for your attention