กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี รายงานการวิจัย ความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ รุ่นปีการศึกษา 2546 เสนอสภามหาวิทยาลัย 12 พฤศจิกายน 2548
ความพึงพอใจของนายจ้าง รายงาน กพร. QA สมศ. ปรับปรุงการ ดำเนินงานของ มหาวิทยาลัย นำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์ของการวิจัย ศึกษาระดับความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ บัณฑิต มอ. รุ่นปีการศึกษา 2546 เปรียบเทียบความพึงพอใจ ของนายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต ภาครัฐกับความพึงพอใจของ นายจ้าง / ผู้ใช้บัณฑิต ภาคเอกชนตามกลุ่มสาขาวิชา สำรวจหลังจากบัณฑิตทำงาน แล้ว 1 ปี
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง บัณฑิตรุ่นปี 2546 สำเร็จ 2,987 คน แบบสำรวจ 2,848 คน ทำงานแล้ว 2,065 คน ( ไม่รวมอาชีพอิสระ 101 คน ) ๐ บัณฑิตทำงานแล้ว 2,166 คน ๐ มีสถานที่ตั้งของที่ ทำงานชัดเจน ครบถ้วน 1,489 คน (1 หน่วยงาน อาจมีบัณฑิต ทำงาน >1 คน ) ๐ ส่งแบบสำรวจให้ นายจ้าง 1,489 ฉบับ ได้รับ 757 ฉบับ คิดเป็น ร้อยละ 50.8 หรือ 34.9% ของบัณฑิตที่ได้ งานทำ
ประเด็นที่สำรวจ...4 ประเด็น 1. ด้านความรู้ทางวิชาการ / วิชาชีพ 2. ด้านความรู้ทั่วไป 3. ด้านบุคลิกภาพ 4. ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ความหมายของคะแนน ระดับคะแนน ความหมาย > 8.00 พึงพอใจ มากที่สุด พึง พอใจมาก พึง พอใจ พึง พอใจน้อย < 4.99 พึงพอใจ น้อยที่สุด เกิน 7.00 น่า พอใ จ
ความพึง พอใจของ นายจ้าง
ความรู้ด้านวิชาการ / วิชาชีพ และ ความรู้ทั่วไป.. คะแนนยังไม่สูง คะแนนสูงสุดด้าน จริยธรรม ภาพรวม ระดับพึงพอใจมาก ( ค่าเฉลี่ย 7.65) นายจ้างมีความพึงพอใจบัณฑิต มอ. 3 ประเด็นสูงสุด 1. ความซื่อสัตย์สุจริต ( คะแนน = 8.35) 2. การประพฤติตนอยู่ในศีลธรรม อันดี ( คะแนน = 8.29) 3. การอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุข ( คะแนน = 8.21) นายจ้างมีความพึงพอใจบัณฑิต มอ. 3 ประเด็นน้อยสุด 1. ความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษ ( คะแนน = 6.67) 2. ความสามารถในการบริหารจัดการ ( คะแนน = 7.01) 3. ความเป็นผู้นำ ( คะแนน = 7.11)
เปรียบเทียบความพึงพอใจนายจ้าง 2545 VS 2546 ดีขึ้นเล็กน้อยทุกประเด็น
ภาพรวมความพึงพอใจ.... กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ เฉลี่ย =7.86
ภาพรวมความพึงพอใจ.... กลุ่มวิทย์ฯ & เทคโนโลยี เฉลี่ย =7.42
ภาพรวมความพึงพอใจ.... กลุ่มสังคมศาสตร์ เฉลี่ย =7.70
เปรียบเทียบภาพรวมความพึงพอใจรายกลุ่มสาขา
จุดอ่อนบัณฑิต มอ. ที่เราเป็นห่วง... ภาษาอังกฤษ ความพึงพอใจของนายจ้าง.. ต่อประเด็นความสามารถภาษาอังกฤษ ต้องปรับปรุง ต่ำกว่า 7.0
คณะที่ได้คะแนนสูง 3 ลำดับแรก … ด้านวิชาการ / วิชาชีพ อิสลามศึกษา กับ เขตการศึกษา ตรัง มีค่าเฉลี่ยสูง หลายประเด็น
เปรียบเทียบความ พอใจนายจ้าง ภาครัฐ VS ภาคเอกชน เอกชนให้ความพึงพอใจต่ำกว่าภาครัฐ หรือมีความคาดหวังสูงกว่าภาครัฐ เอกชนให้ความพึงพอใจต่ำกว่าภาครัฐ หรือมีความคาดหวังสูงกว่าภาครัฐ
ภาครัฐ ภาคเอกชน นายจ้างภาครัฐ VS เอกชน กลุ่มวิทย์สุขภาพ
ภาครัฐ ภาคเอกชน นายจ้างภาครัฐ VS เอกชน กลุ่มวิทย์ & เทคโน
ภาครัฐ ภาคเอกชน นายจ้างภาครัฐ VS เอกชน กลุ่มสังคม
นายจ้างมีความพึงพอใจบัณฑิต มอ. 3 ประเด็นน้อยสุด 1. ความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษ ( คะแนน = 6.67) 2. ความสามารถในการบริหารจัดการ ( คะแนน = 7.01) 3. ความเป็นผู้นำ ( คะแนน = 7.11) สรุป :- มหาวิทยาลัยต้องเร่งปรับปรุง
THE END