Subtitle Goes Hre PBL Problem Based Student Centered Small Group
ปัญหาการวิจัย
จากเหตุผลข้างต้นนี้ ทำให้ผู้วิจัยคิดค้นวิธี หรือการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ นักศึกษาสามารถแก้โจทย์ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ได้ อีกทั้งยังส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษาดีขึ้นอีกด้วย ผู้วิจัยจึงเห็นว่าวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Problem – based Learning เหมาะกับ นักศึกษาดังกล่าว เนื่องจากทำให้นักศึกษาเกิด ทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหาและคิด อย่างสร้างสรรค์ นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และได้ลงมือปฏิบัติ จากเหตุผลข้างต้นนี้ ทำให้ผู้วิจัยคิดค้นวิธี หรือการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ นักศึกษาสามารถแก้โจทย์ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ได้ อีกทั้งยังส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษาดีขึ้นอีกด้วย ผู้วิจัยจึงเห็นว่าวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ Problem – based Learning เหมาะกับ นักศึกษาดังกล่าว เนื่องจากทำให้นักศึกษาเกิด ทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหาและคิด อย่างสร้างสรรค์ นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ และได้ลงมือปฏิบัติ ปัญหาการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาวิทยาศาสตร์อุตสาหกรรมของ นักศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสื่อสาร วิทยาศาสตร์ของนักศึกษาก่อนเรียนและหลัง เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาวิทยาศาสตร์อุตสาหกรรมของ นักศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสื่อสาร วิทยาศาสตร์ของนักศึกษาก่อนเรียนและหลัง เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน
กรอบแนวคิดของการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ตสาหกรรมก่อนเรียนและหลังเรียนของ นักศึกษาช่างกล ปวช.1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยใช้ t-test for Dependent Samples * *.000
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาทักษะการสื่อสารทาง วิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักศึกษา ช่างกลโรงงาน ปวช.1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน nKS.D.tp **.000
สรุปผลการวิจัย 1. นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์ พีซี แผนกช่างกลโรงงาน ปวช.1 ที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ที่เรียนตาม แนวทางของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผู้วิจัยปรับปรุงขึ้นมี “ ผลคะแนนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน ” อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ ที่ระดับ นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์ พีซี แผนกช่างกลโรงงาน ปวช.1 ที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ที่เรียนตาม แนวทางของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผู้วิจัยปรับปรุงขึ้นมี “ ผลคะแนนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน ” อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ ที่ระดับ.01
สรุปผลการวิจัย 2. นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์ พีซี แผนกช่างกลโรงงาน ปวช.1 ที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ที่เรียนตาม แนวทางของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผู้วิจัยปรับปรุงขึ้นมี “ ผลคะแนนทักษะการ สื่อสารทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนเรียน ” อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
จบการนำเสนอวิจัย PBL Problem Based Student Centered Small Group