นโยบายการบริหารจัดการน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
สถานการณ์ภัยแล้งและการช่วยเหลือผู้ประสบภัย จังหวัดขอนแก่น
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ทางหลวงชนบทที่ประสบอุทกภัย
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
สถานการณ์น้ำในเขื่อน กฟผ.
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย กรกฎาคม 2552
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
COP : พัฒนาแหล่งน้ำ.
โครงสร้างภายใน สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ปี พ.ศ. 2551
....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โครงการกิ่วคอหมา
ยินดีต้อนรับ ท่านอธิบดีกรมชลประทาน พร้อมคณะ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำปี งบประมาณ พ. ศ.2556 ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 หน่วย : ล้านบาท งบประมาณ วงเงิน งบประม าณ ผลการเบิกจ่าย เบิกจ่า ย คงเหลื
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
การประชุมผู้บริหารสำนักชลประทานที่ 10
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
รายละเอียดข้อมูลเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ
การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การพัฒนาพื้นที่ชลประทาน (จำแนกรายภาค)
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
ระบบส่งน้ำสถานีสูบน้ำ PL2 PL3
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการบริหารจัดการน้ำ 4/11/2017 6:30 AM นโยบายการบริหารจัดการน้ำ โดย นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ อธิบดีกรมชลประทาน 17 มิถุนายน 2557 © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.

สถานการณ์น้ำของประเทศไทย ประเทศไทยอยู่ในเขตมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือ

แนวร่องความกดอากาศต่ำ ทิศทางมรสุม แนวร่องความกดอากาศต่ำ พายุจร ที่ตั้งของประเทศไทย Tropical Zone ประเทศไทยอยู่ในเขตมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือ

วัฏจักรน้ำของประเทศไทยในปัจจุบัน ระเหยและไหลซึมลงดิน 506,000 ล้าน ลบ.ม./ปี ฝนเฉลี่ย 1,425.72 มม. ปริมาณฝน 719,500 ล้าน ลบ.ม./ปี ไหลลง คลอง ห้วย ลำธาร 213,303 ล้าน ลบ.ม./ปี ระบบเก็บกักน้ำผิวดิน 76,103 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ชลประทาน 29.78 ล้านไร่ *ปี 2556 จากการที่ประเทศไทยมีปริมาณฝนฝนเฉลี่ย 1,573 มม. ทำให้เกิดเป็นปริมาณน้ำ 804,372 ล้าน ลบ.ม./ปี เกิดการระเหยและไหลซึมลงดิน และไหลลง คลอง ห้วย ลำธาร ปัจจุบันมีศักยภาพแหล่งเก็บกักน้ำตามแหล่งต่างๆ สามารถเก็บกักน้ำผิวดินได้เพียง 74,318.16 ล้าน ลบ.ม. ทำให้มีปริมาณน้ำเหลือน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติและไหลลงทะเลสูงถึง 139,105 ล้าน ลบ.ม./ปี เหลือน้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติและไหลลงทะเล 137,200 ล้าน ลบ.ม./ปี

ความสามารถการพัฒนาแหล่งน้ำและพื้นที่ชลประทาน กรมชลประทาน ก่อนมีแผน แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4 แผน 5 แผน 6 แผน 7 แผน 8 แผน 9 แผน 10 2505-09 2510-14 2515-19 2520-24 2525-29 2530-34 2535-39 2540-44 2545-49 2550-54 237 13,681 492 10,798 16,183 1,603 987 875 2,529 6,408 19,867 5,469,991 2,694,120 791,815 2,268,247 2,983,395 2,226,401 1,904,329 1,455,605 796,060 1,329,879 547,872 บางลาง ศรีนครินทร์ น้ำบาดาล 3,500 วชิราลงกรณ์ อุบลรัตน์ ลำปาว สิรินทร ภูมิพล ขนาดใหญ่ 69,155 สิริกิติ รัชประภา แควน้อย 11 เมษายน 2560 กรมชลประทาน

ผลงานด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ โครงการชลประทาน จำนวนโครงการ(แห่ง) ปริมาณน้ำ เก็บกัก (ล้าน.ม.3) พื้นที่ชลประทาน(ล้านไร่) ขนาดใหญ่ 93 70,013.16 18.05 ขนาดกลาง 767 3,967.54 6.56 ขนาดเล็ก 13,496 1.75 1.00 สูบนํ้าด้วยไฟฟ้า 2,458 - 4.32 แก้มลิง 200 380.82 0.05 รวม 17,014 76,103.34 29.98 หมายเหตุ : ข้อมูล ณ สิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ปริมาณน้ำเก็บกัก 76,103.34 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ชลประทาน 29.98 ล้านไร่

สภาพปัญหาเกี่ยวกับน้ำของประเทศไทย 1.ปัญหาการขาดแคลนน้ำ 2.ปัญหาด้านอุทกภัย 3.ปัญหาคุณภาพน้ำ ขาดน้ำดื่ม ขาดน้ำใช้ ขาดระบบประปา ขาดน้ำการเกษตร พื้นที่เกษตร พื้นที่น้ำท่วม คุณภาพน้ำ เสื่อมโทรมมาก เสื่อมโทรม พอใช้ ดี หมู่บ้านขาดแคลนน้ำ เพื่อการอุปโภคบริโภค 19,000 หมู่บ้าน หมู่บ้านขาดแคลนน้ำ เพื่อการเกษตร 14,000 หมู่บ้าน น้ำท่วม ชนบท 27 ล้านไร่ เมือง 3 ล้านไร่ น้ำเสียในลำน้ำสายหลัก 4 ลุ่มน้ำ

พื้นที่ชลประทาน(ล้านไร่) เพิ่มปริมาณน้ำเก็บกัก เพิ่มพื้นที่ชลประทาน โครงการตามแผนพัฒนาการชลประทานในระดับลุ่มน้ำ อย่างเป็นระบบ (กรอบน้ำ ๖๐ ล้านไร่) โครงการชลประทาน จำนวนโครงการ(แห่ง) ปริมาณน้ำเก็บกัก (ล้าน.ม.3) พื้นที่ชลประทาน(ล้านไร่) ขนาดใหญ่ 51 7,805 18,605,746 ขนาดกลาง 1,033 6,614 7,130,138 ขนาดเล็ก 6,663 954 1,958,234 สูบนํ้าด้วยไฟฟ้า 1717 - 3,615,525 แก้มลิง 1534 3,980 รวม 11,051 19,353 31,309,643 เพิ่มปริมาณน้ำเก็บกัก 19,353 ล้าน ลบ.ม. เพิ่มพื้นที่ชลประทาน 31.30 ล้านไร่

การพัฒนาพื้นที่ชลประทาน (จำแนกรายภาค) (ล้านไร่) พื้นที่เกษตร ศักยภาพ ทั้งสิ้น พัฒนาพื้นที่ชลประทานแล้ว คงเหลือ พื้นที่* ชลประทาน ร้อยละต่อพื้นที่เกษตร เหนือ 106.02 28.64 10.04 6.59 23.04% 3.44 ตะวันออก เฉียงเหนือ 105.53 58.10 27.86 6.40 11.02% 21.46 กลาง 42.12 14.67 13.02 11.89 81.05% 1.13 22.81 10.48 4.81 2.20 20.99% 2.61 ใต้ 44.19 19.19 5.55 2.89 15.06% 2.66 รวม 320.67 131.59 61.28 29.98 22.87% 31.30 พื้นที่การเกษตร พื้นที่ชลประทาน พื้นที่ที่มีศักยภาพพัฒนาเป็นพื้นที่ชลประทาน *หมายเหตุ - กรมชลประทานดูแลพื้นที่ชลประทานในส่วนของโครงการขนาดใหญ่ กลาง จำนวน 24.52 ล้านไร่ - ข้อมูล ณ สิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

หลักการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ชลประทาน มีแหล่งน้ำต้นทุนและระบบกระจายน้ำ มีการบริหารจัดการน้ำโดย กลุ่มผู้ใช้น้ำ คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำชลประทาน มีน้ำเพียงพอต่อการอุปโภค-บริโภค และรักษาระบบนิเวศน์ตลอดทั้งปี สามารถสนับสนุนการเพาะปลูกในฤดูกาลเพาะปลูกได้อย่างมั่นคง เมื่อสิ้นฤดูฝนหากมีปริมาณน้ำเหลือมากพอจะสามารถสนับสนุนการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งได้จำนวนหนึ่งตามปริมาณน้ำทุนที่มีอยู่

การจัดลำดับความสำคัญการจัดสรรน้ำ เพื่อการอุปโภค-บริโภค การประปา เพื่อการรักษาระบบนิเวศน์ทางน้ำ เช่น การผลักดันน้ำเค็ม การขับไล่น้ำเสีย 3) เพื่อการเกษตรกรรม 4) เพื่อการอุตสาหกรรม 5) เพื่อการคมนาคมทางน้ำ

แบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๒ ให้กรมชลประทาน มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน้ำตามศักยภาพของลุ่มน้ำให้เพียงพอ และจัดสรรน้ำให้กับผู้ใช้น้ำทุกประเภท เพื่อให้ผู้ใช้น้ำได้รับน้ำอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ตลอดจนป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ ดำเนินการจัดให้ได้มาซึ่งน้ำ หรือกัก เก็บ รักษา ควบคุม ส่ง ระบายหรือจัดสรรน้ำเพื่อการเกษตร การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการชลประทาน กฎหมายว่าด้วยคันและคูน้ำ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ ความปลอดภัยของเขื่อนและอาคารประกอบ และการคมนาคมทางน้ำที่อยู่ในเขตชลประทาน ตลอดจนดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมพิเศษต่าง ๆ ที่ไม่ได้เป็นแผนงานประจำปีของกรม ดำเนินการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่รัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

MISSION พัฒนาแหล่งน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพของลุ่มน้ำให้เกิดความสมดุล บริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการให้เพียงพอ ทั่วถึง และเป็นธรรม ดำเนินการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำตามภารกิจอย่างเหมาะสม เสริมสร้างการมีส่วนรวมในกระบวนการพัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ

บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน

การบริหารจัดการน้ำในปัจจุบัน ช่วงฤดูแล้ง : ปลายฤดูฝน (ต.ค.) ประชุมคณะกรรมการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติ สรุปข้อมูลความต้องการใช้น้ำและศักยภาพน้ำต้นทุนจากพื้นที่ต่างๆ และประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาวางแผนการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง การใช้น้ำตามปริมาณน้ำต้นทุน รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือ และ มาตรการการจัดสรรน้ำ ในช่วงฤดูแล้ง แจ้งให้ส่วนราชการต่างๆ ทราบ เพื่อประชาสัมพันธ์เกษตรกรผู้ใช้น้ำ และเตรียมความพร้อมในการดำเนินการ รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือต่างๆ

การบริหารจัดการน้ำในปัจจุบัน หน่วยงานหลัก : กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ และ กฟผ. ช่วงฤดูฝน : โดยปกติจะมีการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค (ส่วนภูมิภาคประสานกับจังหวัดและประชาชน) บริหารจัดการน้ำและให้ความช่วยเหลือตามสถานการณ์น้ำฝน-น้ำท่า และการใช้น้ำต่างๆ พร้อมวางแผนป้องกันน้ำท่วมที่อาจเกิดขึ้นได้

บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน ภารกิจ การบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้ำ ความรับผิดชอบอย่างสมบูรณ์ ในเขตพื้นที่ชลประทาน ในการบริหารน้ำ และพื้นที่เพาะปลูก ให้การสนับสนุนเครื่องจักรเครื่องมือเมื่อได้รับการร้องขอ ในพื้นที่นอกเขตชลประทาน มีแผนการพัฒนาแหล่งน้ำ เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนให้มั่นคง มีแผนการเพิ่มพื้นที่ชลประทาน

บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน ภารกิจ การบรรเทาปัญหาอุทกภัย หน้าที่ ความรับผิดชอบ อย่างสมบูรณ์ในเขตพื้นที่ชลประทาน การบริหารน้ำ การเตือนภัย เป็นหน่วยงานสนับสนุนข้อมูลหลัก ดังต่อไปนี้ ระบบลำน้ำ ทิศทางและปริมาณการไหลของน้ำ ผลกระทบในพื้นที่ แนวทางการบรรเทาปัญหาเฉพาะหน้า ในการควบคุมน้ำ มีแนวทาง แผนงานเร่งด่วน ระยะสั้น ระยะปานกลาง ระยะยาว การสนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่จำเป็น โดยการพิจารณาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด

บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน พื้นที่ในเขตชลประทาน พื้นที่นอกเขตชลประทาน การเพาะปลูก ในฤดูกาล 100 % นอกฤดูกาลตามสถานการณ์น้ำ อุปโภค บริโภค 100% นิเวศน์ 100 % อุตสาหกรรม 100 % แหล่งข้อมูลหลักด้านน้ำท่า แนวทางแก้ไข สนับสนุน รถน้ำ เครื่องสูบน้ำ ตามคำร้องขอ รับผิดชอบเต็ม บริหารจัดการ การเตือนภัย สนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ์ ตามคำร้องขอ การขาดแคลนน้ำ อุทกภัย

บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน นอกเขตชลประทาน การเตรียมพร้อม ข้อมูล ระบบลำน้ำ ทิศทางการไหลของน้ำ ปริมาณน้ำ การคาดการณ์ ผลกระทบ การสนับสนุน เครื่องจักรเครื่องมือ การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนงาน แผนงานโครงการเร่งด่วนที่จำเป็น แผนงานระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว

จบการบรรยาย