6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย 3. การรับและให้ข้อมูลเจ็บป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงในการเคลื่อนย้าย 4. การเตรียมรับอุบัติเหตุหมู่ 5. การช่วยฟื้นคืนชีพ
1. ระบบการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 2. ระบบการทำความสะอาดรถเข็น ผู้ป่วย 3. การป้องกันการติดเชื้อในบุคลากร ของหน่วยงาน
1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยงของ หน่วยงานที่เป็นปัจจุบัน 2. การรายงาน การบันทึกอุบัติการณ์ ในหน่วยงาน 3. การทบทวนความเสี่ยงที่สำคัญใน หน่วยงาน พร้อมทั้งการหาแนวทาง ป้องกันความเสี่ยงและผลลัพธ์ของ การดำเนินการ เช่น ผู้ป่วยเกิดการ เปลี่ยนแปลงอาการขณะนำส่ง ผู้ป่วย ตกเตียง 4. การประสานงานกับทีมความเสี่ยง ของโรงพยาบาล 5. การค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก
3. การดูแลรถเข็นให้พร้อมใช้และ พอเพียง 1. การจัดการสถานที่ให้สะอาด สะดวก ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 2. การออกแบบโครงสร้าง สิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน 4. ระบบการสำรองออกซิเจน 5. ระบบการดูแลรักษาเชิงป้องกัน ของเครื่องมือ อุปกรณ์