การเรียนรู้ร่วมกันผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์ Electronic Community Learning COE2005-23 นายกิตติกัญจน์ เมฆประสาน 453040597-6 นายจักรพงศ์ เปลี่ยนคำ 453040628-1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

การเขียนบทความ.
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ระบบ e-learning สำหรับผู้พิการทางสายตา
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
โปรแกรมแสดงประวัติการแก้ไขแฟ้มเอกสาร (Multi-Version Text Viewer / Editor) COE นาย กัณวัตม์ ไชยารัศมี รหัส นาย ชัยวัฒน์ สุขปัญญา รหัส.
Development of e-Office System for Computer Centre at Khon Kaen University COE นาย กรีชา ซื่อตรง รหัส นาย ปรเมศวร์ มาพิทักษ์ รหัส.
ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
ที่ปรึกษาวัยรุ่นอัจฉริยะ ด้านการศึกษาต่อต่างประเทศ Intelligent Counselor on Studying Aboard โดย นางสาวช่อเพชร มหาเพชร นายธนภัทร จามพฤกษ์
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
Tiny ERP ผู้ดำเนินโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
General Purpose Prepaid Payment System COE ระบบชำระค่าบริการ ด้วยบัตรเงินสด ผู้จัดทำ โครงการ นายธนิด นะทะศิริ รหัส นายพัฒนพงศ์ ศรีทวีกาศ.
Management of International Relation Information System
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
โปรแกรมฐานข้อมูลสำหรับร้านอะไหล่ Carparts Database Systems
การพัฒนาระบบควบคุมเครื่องหยอดเหรียญสำหรับเพิ่มสิทธิ์ในการพิมพ์
The Development of Document Management System with RDF
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ (Secret Sharing over RSA)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
eDocument Services ระบบการบริการเอกสารอิเลคทรอนิกส์ COE
โปรแกรมฐานข้อมูลสำหรับร้านอะไหล่ Car parts Database Systems
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
การเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
รายละเอียดของการทำ Logbook
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน (ดอน)
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
Overview - Wikipedia Wikipedia คืออะไร? การใช้งาน Wikipedia
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
Knowledge Management (KM)
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
Social Media for Education การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
อาจารย์ ดร.ฐิติพร ชมภูคำ กรรมการและเลขานุการหลักสูตร MBA
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
๑ - ๒ พ. ค. ๕๗ น. ต. ณฤทธิ์ บุญทาเลิศ นายทหารปฏิบัติการ แผนกกรรมวิธีข้อมูล กบศ. ยศ. ทร.
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software )
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 6 ที่ปรึกษา ท่านผู้ทรงคุณวุฒิฯนางสุจิตรา อังคศรีทองกุล ประธาน คุณพิชัย คชพิมพ์ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย จังหวัดร้อยเอ็ด.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนรู้ร่วมกันผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์ Electronic Community Learning COE นายกิตติกัญจน์ เมฆประสาน นายจักรพงศ์ เปลี่ยนคำ นายปานนวัต จานทอง

อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ดร. กานดา รุณนะพงศา อาจารย์ร่วมประเมิน ผศ. ดร. วนิดา แก่นอากาศ ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย 2

ที่มาและความสำคัญ โครงสร้างของระบบ ประโยชน์ที่จะได้รับ ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา ผลงานที่ทำ References Agenda 3

ที่มาและความสำคัญ การหาข้อมูลโดยใช้ Google ยากเกินไป คนชอบถามมากกว่าค้นหาเอง Blog & Wiki เริ่มศึกษา Knowledge Management 4

Knowledge ? จากข้อเท็จจริงสู่สติปัญญา ตัวอย่างของการเกิดสติปัญญา ผู้ใช้ต้องการอะไร ? 5

Weblog ( Blog ) เว็ปเพจที่คนเขียนบทความของแต่ละคน ธรรมชาติผู้คนจะเขียนในสิ่งที่ตนได้ รับรู้ในแต่ละวัน จำนวนผู้ใช้เพิ่มมากขึ้นทุกวัน แสดงว่าค่านิยมในการเขียนมีมากขึ้น เป็นความรู้ที่เข้าใจเฉพาะคนและไม่ถูก เผยแพร่ 6

Wikipedia สาราณุกรมเสรีบนอินเตอร์เน็ต ทุกคนสามารถปรับปรุงเนื้อหาในแต่ละหน้าได้ ปัจจุบันมีมากกว่าหนึ่งล้านบทความ ข้อมูลถูกปรับปรุงให้ดีขึ้นอยู่ตลอดเวลา ผู้คนไม่ได้เป็นเจ้าของบทความ 7

What we do ? เราศึกษาความต้องการของมนุษย์ การยอมรับจากสังคม ความต้องการเป็นเจ้าของ เรานำแนวคิดที่ดีและปรับปรุงข้อเสียของ Wiki และ Blog มาสร้างระบบใหม่ เราใช้กลยุทธ์ในการดึงเอาข้อมูลและความรู้จากมนุษย์ ใช้กลยุทธเชิงบังคับ ใช้สิ่งอำนวยความสะดวกเป็นแรงดึงดูด ความต้องการของมนุษย์ 8

Best practices information. 9

10

11

ประโยชน์ที่จะได้รับ เรามีระบบจัดการความรู้ขนาดใหญ่สำหรับคนไทย ระบบที่ส่งเสริมการเรียนรู้บนอินเตอร์เน็ตที่ผู้ใช้เข้ามามีส่วนร่วมและเข้าใจ โดยง่าย แหล่งความรู้ที่สามารถวิวัฒนาการข้อมูลให้เป็นข้อมูลความรู้ที่ดีอยู่เสมอ ผู้ใช้สามารถได้รับข้อมูลความรู้ที่ตรงตามความต้องการโดยง่าย ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง 12

ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน ศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้ งานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้บนอินเตอร์เน็ต รวมถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ออกแบบโครงสร้างของระบบโดยรวม โครงสร้างข้อมูลและฐานข้อมูล สร้างระบบที่พร้อมใช้งานในระดับหนึ่ง สร้างส่วนค้นหาและส่วนควบคุม ทดสอบและเผยแพร่โดยการนำไปทดลองใช้งานจริงเพื่อพัฒนาและปรับปรุงให้ ดีขึ้น สร้างระบบค้นหาขั้นสูงและพัฒนาส่วนควบคุมให้ดีขึ้น ทำรายงานสรุป คู่มือการใช้งาน และนำออกเผยแพร่ 13

เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา PHP MySQL CSS HTML JavaScript XML & Webservices 14

ผลงานที่ทำ ได้เริ่มศึกษา ทฤษฎีการจัดการความรู้ ศึกษาความต้องการและพฤติกรรมของผู้ใช้ ศึกษาจากงานที่มีอยู่แล้ว หาช่องทางปรับปรุงให้ดีขึ้น เริ่มต้นออกแบบโครงสร้างของระบบและเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้ 15

References Wikimedia Foundation, Wikipedia, WordPress, System Thinking, 16

เปลี่ยน References เป็นเอกสารอ้างอิง หลีกเลี่ยงการใช้คำภาษาไทยคำ ภาษาอังกฤษคำ ทำให้ขนาดของตัวอักษรใหญ่ขึ้น