ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะไตวาย.
การป้องกันภาวะไตวาย ประกอบด้วย 2 โครงการ 1. โครงการป้องกันภาวะไตวาย จ
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
1.CKD clinic : คลินิกชะลอไตเสื่อม
โดย เสาวลักษณ์ สัจจา กลุ่มงานเวชกรรมสังคม รพ.หนองคาย
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
Service plan สาขาไต นพ.ประนาท เชี่ยววานิช.
นพ.ธนชัย พนาพุฒิ อายุรแพทย์โรคไต รพ.ขอนแก่น 14 พย. 2557
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
โรคเบาหวาน ภ.
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สาขาโรคมะเร็ง.
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ภญ. นีลนาถ เจ๊ะยอ รพ. หนองจิก จ. ปัตตานี. ที่มาของ การพัฒนา.
ภาวะแทรกช้อน โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นพ.อำพล เวหะชาติ
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย การตรวจคัดกรองและดูแลรักษา ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย

คำจำกัดความของโรคไตเรื้อรัง การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง เนื้อหา สาระสำคัญ คำจำกัดความของโรคไตเรื้อรัง การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง ค่าการทำงานของไต (glomerular fltration rate; GFR) การตรวจคัดกรองภาวะไตเรื้อรังจากการตรวจค่าการทำงานของไต การตรวจคัดกรองภาวะไตเรื้อรังจากการตรวจหาอัลบูมิน หรือโปรตีนในปัสสาวะ ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

การประเมินผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เนื้อหา สาระสำคัญ การประเมินผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง การดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่มีภาวะไตเรื้อรังร่วม การส่งต่อผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูงที่มีภาวะไตเรื้อรังร่วม ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

วัตถุประสงค์ คำแนะนำการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิต มีวัตถุประสงค์ เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพการบริการผู้ป่วย มีการปรับเปลี่ยนบริบทต่างๆ ให้เหมาะสมกับทรัพยากรด้าน มุ่งหวังเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คำแนะนำต่างๆ ในเอกสารฉบับนี้ไม่ใช่ข้อบังคับของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างจากข้อแนะนำนี้ได้ ตามสถานการณ์ที่เหมาะสม หรือมีข้อจำกัดของสถานบริการและทรัพยากร ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

คำจำกัดความ ข้อบ่งชี้ความผิดปกติของไตติดต่อกันเกิน 3 เดือน ได้จาก อัตรากรองของไต (estimated glomerular filtration rate, eGFR) < 60 ml/min/1.73 m2 อัลบูมินในปัสสาวะ (albuminuria) เม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ (hematuria) ความผิดปกติของเกลือแร่ (electrolyte) ที่เกิดจากท่อไตผิดปกติ ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

ระยะของโรคไตเรื้อรัง ระยะโรค ระยะของโรคไตเรื้อรัง eGFR (มล./นาที/1.73 ตารางเมตร) คำนิยาม ระยะที่ 1 > 90 ปกติ หรือสูง ระยะที่ 2 60-89 ลดลงเล็กน้อย ระยะที่ 3a 45-59 ลดลงเล็กน้อย ถึงปานกลาง ระยะที่ 3b 30-44 ลดลงปานกลาง ถึงมาก ระยะที่ 4 15-29 ลดลงมาก ระยะที่ 5 < 15 ไตวายระยะสุดท้าย ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

ข้อบ่งชี้ความผิดปกติของไต ได้จาก คำจำกัดความ ข้อบ่งชี้ความผิดปกติของไต ได้จาก อัตรากรองของไต (estimated glomerular filtration rate, eGFR) < 60 ml/min/1.73 m2 อัลบูมินในปัสสาวะ (albuminuria) เม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ (hematuria) ความผิดปกติของเกลือแร่ (electrolyte) ที่เกิดจากท่อไตผิดปกติ ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

การคัดกรอง การตรวจคัดกรองภาวะไตเรื้อรังจากการตรวจค่าการทำงานของไต ด้วยการตรวจประเมินค่า eGFR อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ด้วยการตรวจระดับ ครีอะตินินในเลือด และคำนวณด้วยสมการ “CKD-EPI (Chronic Kidney Disease Epidemiology Collaboration) equation การตรวจคัดกรองภาวะไตเรื้อรังจากการตรวจหาอัลบูมินหรือโปรตีนในปัสสาวะ การตรวจคัดกรองภาวะไตเรื้อรังจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆ ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

การคัดกรองโรคไตเรื้อรัง สูตรคำนวณ CKD-EPI Equation (Chronic Kidney Disease Epidemiology Collaboration) เพศ Serum Creatinine (mg/dL) Equations หญิง ≤ 0.7 GFR = 144 x (SCr/0.7) -0.329 x (0.993)Age > 0.7 GFR = 144 x (SCr/0.7) -1.209 x (0.993)Age ชาย ≤ 0.9 GFR = 141 x (SCr/0.9) -0.411 x (0.993)Age > 0.9 GFR = 141 x (SCr/0.9) -1.209 x (0.993)Age

การคัดกรองโรคไตเรื้อรัง 2.2 ตรวจหาโปรตีนรั่วจากตัวอย่างปัสสาวะถ่ายครั้งเดียว โดยใช้แถบสีจุ่ม (Dipstick) ถ้าตรวจพบมีโปรตีนรั่วทางปัสสาวะตั้งแต่ระดับ 1+ขึ้นไป และไม่มีสาเหตุที่สามารถทำให้เกิดผลบวกปลอม ถือได้ว่ามีภาวะ proteinuria ควรส่งตรวจซ้ำอีก 1-2 ครั้งใน 3 เดือน หากพบproteinuria 2 ใน 3 ครั้ง ถือว่ามีภาวะไตผิดปกติ

การคัดกรองโรคไตเรื้อรัง ข้อแนะนำในกรณีตรวจไม่พบโปรตีนรั่วทางปัสสาวะด้วยแถบสีจุ่มควรพิจารณาตรวจเพิ่มด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ ตรวจ urinary albumin/creatinine ratio(UACR) จากการเก็บปัสสาวะตอนเช้า (spot morning urine) ถ้ามีค่า 30-300 mg/g แสดงว่ามีภาวะ albuminuria ตรวจปัสสาวะแบบจุ่มด้วยแถบสีสำหรับ Microalbumin (cut-off level : 20 mg/L) ถ้าผล positive แสดงว่ามีภาวะ albuminuria ถ้าตรวจพบภาวะalbuminuria ควรส่งตรวจซ้ำอีก 1-2 ครั้งใน 3 เดือน หากพบalbuminuria 2 ใน 3 ครั้ง ถือว่ามีภาวะไตผิดปกติ

การรักษา การดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดันโลหิตสูงที่มีภาวะไตเรื้อรังร่วม เพื่อชะลอความเสื่อมของโรคไต ป้องกันภาวะไตวายระยะสุดท้าย การรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไขมันในเลือดสูง รวมทั้งการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ จัดการตามความเหมาะสมของโรค /ภาวะ การรักษาโรคเบาหวาน การรักษาภาวะความดันโลหิตสูง การรักษาภาวะไขมันในเลือดสูง การป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ จากโรคไตเรื้อรัง ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

การควบคุมความดันโลหิตและ การใช้ยายับยั้งรีนินแองจีโอเทนซิน (RAAS blockage) ปรับเป้าหมายของระดับความดันโลหิตและชนิดของยาลดความดันโลหิตในผู้ป่วยแต่ละรายโดยคำนึงถึง อายุ โรคหัวใจและหลอดเลือด ความเสี่ยงต่อการเสื่อมของไต ความทนต่อยา และผลข้างเคียงของการรักษาโดยเฉพาะภาวะความดันโลหิตต่ำ เกลือแร่ผิดปกติ และไตวายเฉียบพลัน แนะนำปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความดันโลหิตและป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด

การควบคุมความดันโลหิตและ การใช้ยายับยั้งรีนินแองจีโอเทนซิน (RAAS blockage) เป้าหมายของระดับความดันโลหิตที่หวังผลชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีระดับอัลบูมินในปัสสาวะ < 30 มก.ต่อวัน คือ < 140/90 mmHg เป้าหมายของระดับความดันโลหิตที่หวังผลชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีระดับอัลบูมินในปัสสาวะ > 30 มก.ต่อวัน คือ < 130/80 mmHg

การควบคุมความดันโลหิตและ การใช้ยายับยั้งรีนินแองจีโอเทนซิน (RAAS blockage) ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่เป็นเบาหวานที่มีระดับอัลบูมินในปัสสาวะ 30-300 มก.ต่อวัน ควรได้รับยา ACEI หรือ ARB เป็นยาตัวแรก ถ้าไม่มีข้อห้าม ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทั้งที่เป็นและไม่เป็นเบาหวานที่มีระดับอัลบูมินในปัสสาวะ > 300 มก.ต่อวัน ควรได้รับยา ACEI หรือ ARB เป็นยาตัวแรก ถ้าไม่มีข้อห้าม

การควบคุมความดันโลหิตและ การใช้ยายับยั้งรีนินแองจีโอเทนซิน (RAAS blockage) ควรใช้ยา ACEI หรือ ARB ในขนาดปานกลางหรือสูงตามที่มีการศึกษาวิจัยผลดีของยาในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ไม่แนะนำให้ใช้ยาร่วมกันระหว่าง ACEI และ ARB เพื่อชะลอการเสื่อมของไต ควรได้รับการติดตามระดับ Cr และ K และยังคงใช้ยาต่อไปได้ในกรณีที่มีการเพิ่มขึ้นของ serum Cr ไม่เกิน 30% ในระยะเวลา 4 เดือน หรือ serum K น้อยกว่า 5.5 มิลลิโมล/ลิตร

โภชนบำบัด ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังควรรับประทานอาหารโปรตีน ดังนี้ ผู้ป่วยที่มีeGFR < 30 มล./นาที/1.73 ตร.ม. ควรรับประทานอาหารโปรตีน 0.8 กรัม/กก. /วัน ควรได้รับโปรตีนจากเนื้อสัตว์ ไข่ขาว อย่างน้อยร้อยละ 60

การส่งต่อ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 1 ถึง 2 และระยะ 3a (ที่มีค่าการทำงานของไตคงที่ไม่น้อยกว่า 6-12 เดือน) ผู้ป่วยระยะนี้สามารถให้การดูแลรักษาในคลินิกเบาหวาน หรือคลินิกความดันโลหิตสูงได้ ในรพ.สต./ PCU พิจารณาส่งต่อไปยัง รพ.ชุมชน กรณีมีข้อบ่งชี้ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 (รวมระยะ 3a ที่มีค่าการทำงานของไตไม่คงที่หรือลดลงต่อเนื่อง และระยะ 3b) การดูแลรักษาในคลินิกเบาหวาน หรือคลินิกความดันโลหิตสูงในสถานพยาบาลระดับ รพ.ชุมชน ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

การส่งต่อ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 4 และ 5 ควรได้รับการส่งต่อเพื่อพบอายุรแพทย์โรคไต หรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคไต ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับการบำบัดทดแทนไต ยกเว้น ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีโรคอื่นๆ ที่ไม่สามารถรักษาได้ หรืออยู่ในระยะสุดท้ายของโรคร่วมที่เป็นอยู่ หรือมีค่าการทำงานของไตคงที่เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6-12 เดือน ได้รับการให้คำปรึกษาร่วมกันถึงแผนการรักษาระหว่างผู้ให้บริการและผู้ป่วย ประชุมพัฒนาแนวทางคัดกรอง _24 มีค 58

Thank You !