น.ส.ศุภวรรณ ภัทรคุปต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
การศึกษาสาเหตุของผู้เรียนที่มีต่อการไม่ส่ง งานตามกำหนดระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปวช. ปีที่ 1 รอบบ่ายกลุ่ม 1 วิทยาลัย เทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน วิทยาลัยเทคโนโลยี
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
ผู้วิจัย นางสาวอาภรณ์ เทียนทอง สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 1 กลุ่ม A11 และ A12.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 กลุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น.ส.ศุภวรรณ ภัทรคุปต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี วิจัยชั้นเรียน ศึกษาผลของการเสริมแรงทางบวกในการแก้ไขปัญหา การไม่ส่งงานวิชาคอมพิวเตอร์เครือข่ายของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 3 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี น.ส.ศุภวรรณ ภัทรคุปต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี

ปัญหาการวิจัย 1.นักเรียนบางส่วนไม่ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 2. นักเรียนไม่ส่งงานตามกำหนดระยะเวลา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเสริมสร้างให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ 2. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงาน 3. เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นคนตรงต่อเวลา 4. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนไปในทางที่ดีขึ้น

รวมค่าเฉลี่ย (ร้อยละ) ตารางเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ก่อน – หลังจากการเสริมแรงทางบวกในส่งงานของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี จำนวน 21 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 คนที่ ก่อนเสริมแรงทางบวก หลังเสริมแรงทางบวก ร้อยละ 1 50.00 100 2 33.33 83.33 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 66.67 19 20 21 รวมค่าเฉลี่ย (ร้อยละ) 48.41 88.09

จากตารางแสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ก่อน – หลังจากการเสริมแรงทางบวกในส่งงานของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี จำนวน 21 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โดยคำนวณจำนวนชิ้นงาน6 ชิ้นก่อนการเสริมแรงทางบวกและจำนวนชิ้นงาน6 ชิ้นหลังการเสริมแรงทางบวก พบว่านักเรียนมีความกระตือรือร้นที่จะส่งงานมากขึ้น มีการพัฒนาตนเอง มีความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับจาก 48.41 % เป็น 88.09 %

การเสริมแรงทางบวกเป็นแนวคิดหนึ่งของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทําBurrhus F. Skinner มีแนวความคิดพื้นฐานว่า พฤติกรรมของมนุษย์ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของเงื่อนไขการเสริมแรงและลงโทษการเสริมแรงมี 2 ประเภท คือ 1.การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement) 2. การเสริมแรงทางลบ (Negative reinforcement) การเสริมแรงทางบวก เป็นการกระทำชนิดหนึ่งที่ทำให้เกิดความพึงพอใจกับผู้เรียนและความพึงพอใจนั้นทำให้เกิด การตอบสนองที่ต้องการมากครั้งขึ้น เช่น เงิน รางวัล คําชมเชย ฯลฯ

การเสริมแรงทางบวกโดยการให้คะแนนเพิ่มเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนส่งงานตามที่ครูผู้สอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์เครือข่าย ได้มอบหมายงานหรือแบบฝึกหัดให้นักเรียนทำส่ง เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนว่า นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมากน้อยเพียงใด พบว่าหลังจากที่มีการเสริมแรงทางบวกในด้านต่างๆ เช่นการให้คำพูดชมเชย การให้คะแนนพิเศษ การให้รางวัล ปรากฏว่าร้อยละ 88.09% มีพฤติกรรมและความรับผิดชอบที่เปลี่ยนไป คือมีการส่งงานเพิ่มมากขึ้น และตรงต่อเวลาซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดการเสริมแรงบวกของBurrhus F. Skinner

สรุปผลการวิจัย การศึกษาผลของการเสริมแรงทางบวกในการแก้ไขปัญหาการไม่ส่งงาน วิชาคอมพิวเตอร์เครือข่าย ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 3 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2556 ครูผู้สอนได้ศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อถามสาเหตุของการไม่ส่งงาน และให้การเสริมแรงทางด้านบวก และเจตคติต่างๆ ทั้งในการให้คำพูดชมเชย การให้คะแนนพิเศษ พบว่า นักเรียนมีความรับผิดชอบในการส่งงานเพิ่มขึ้นสูงขึ้น จากร้อยละ 48.41% เป็นร้อยละ 88.09% ทำให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีในการส่งงาน ส่งผลให้นักเรียนเป็นคนตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบมากขึ้น

Thank You for Your Attention