รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
การศึกษารายกรณี.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การศึกษาความพึงพอใจของ
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปิยมาภรณ์ เหมืองทอง ครูประจำภาควิชาบริหารธุรรกิจ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.

การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน

----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย การบริหารงานที่ประสบผลสำเร็จได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นต้องเอา การบริหารเชิงระบบมาใช้ ซึ่งการจัดระบบสารสนเทศถือเป็นกุญแจนำไปสู่ความสำเร็จอย่างหนึ่ง ศุภชีพ พีรวุฒิประเสริฐ (2553) ทำการวิจัย เรื่องความพึงพอใจในการให้บริการและการใช้งาน Internet ของบุคลากรและนักศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ พบว่าการใช้ระบบสารสนเทศของบุคลากรมีความพึงพอใจในระดับ ค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่เข้าใจในระบบและการเข้าใจงาน วิธีการใช้งานยุ่งยาก ไม่ยอมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคิดว่าการใช้ระบบมีความซับซ้อน

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการเข้ารับการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

วิธีดำเนินการวิจัย 1. ผู้วิจัยรวบรวมปัญหาจากการดำเนินงานของบุคลากรที่ใช้ข้อมูลสารสนเทศของวิทยาลัย 2. นำปัญหาที่พบจากการสำรวจข้อมูลและจากการปฏิบัติงานจริงมาวางแผนเพื่อจัดการอบรมเพิ่มเติมความรู้ 3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสารสนเทศของวิทยาลัย ดำเนินการพัฒนาความรู้ความเข้าใจระบบสารสนเทศของวิทยาลัย 4. นำผลการประเมินมาทำการวิเคราะห์หาค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

เครื่องมือวิจัย 1. ลักษณะเครื่องมือวิจัย เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน 1.1 ข้อมูลพื้นฐานมีลักษณะเลือกตอบ 1.2 ปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดทำสารสนเทศของสถานศึกษามีลักษณะเป็นแบบวัดทัศนคติ 5 ระดับของ Likert Scale 2. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ มีขั้นตอนดังนี้ 2.1 สร้างเครื่องมือตามกรอบความคิดในการวิจัย 2.2 ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและแบบสอบถาม 2.3 นำแบบสอบถามไปปรับปรุงแก้ไขแล้วนำไปทดสอบใช้

สรุปผลวิจัย ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบประเมิน พบว่าโดยรวมมีความพึงพอใจมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทุกด้านมีความพึงพอใจมาก ส่วนข้อเสนอแนะอื่น ๆ มีผู้เสนอแนะเพียงข้อละ 1 คน เช่น ควรมีการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเช่นนี้อีก ควรจัดเจาะจงผู้ใช้สารสนเทศแยกตามระบบแต่ละด้าน

อภิปรายผล จากผลการประเมินพบว่า ส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจมากในการอบรมพัฒนาความรู้ระบบสารสนเทศ ยกเว้นด้านการนำความรู้ไปใช้ข้อ 4 สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ / ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจปานกลาง แสดงว่าผู้เข้าอบรมไม่มั่นใจในการให้คำปรึกษาแก่เพื่อนร่วมงานได้ นอกจากนี้ข้อที่น่าสนใจคือ ด้านวิทยากร พบว่าข้อที่ 1 การเตรียมตัวและความพร้อมของวิทยากร มีความพึงพอใจมาก ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 4.14

ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศของวิทยาลัยต้องมีการอบรมทบทวนผู้ใช้งานอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งผู้ดูแลระบบต้องประเมินผลการให้บริการอย่างต่อเนื่อง

Thank You !