แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
Research Mapping.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ. 2551 - 2554

วิวัฒนาการการส่งเสริมสุขภาพ การสาธารณสุขมูลฐาน (2521) - ประชาชนสามารถช่วยเหลือ หรือดำเนินการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานได้ด้วยตัวเอง - ให้ความสำคัญกับงานส่งเสริมสุขภาพและควบคุมป้องกันโรค การสาธารณสุขแนวใหม่ (2529) - กฎบัตรออตตาวา - บทบาทของภาคต่างๆในสังคม - การมีส่วนร่วมของชุมชน - ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม(ทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง) การสาธารณสุขในยุคโลกาภิวัตน์ (2548)

วิวัฒนาการการส่งเสริมสุขภาพ การสาธารณสุขในยุคโลกาภิวัตน์ (2548) - กฎบัตรกรุงเทพ - นโยบาย และภาคีเครือข่ายต้องเป็นศูนย์กลางการพัฒนา - พันธสัญญาหลัก 4 ประการ คือ ให้การส่งเสริมสุขภาพ เป็นศูนย์กลางของพัฒนาระดับโลก ให้การส่งเสริมสุขภาพ เป็นความรับผิดชอบหลักของรัฐบาล ให้การส่งเสริมสุขภาพ เป็นเป้าหมายสำคัญของชุมชนและประชาสังคม ให้การส่งเสริมสุขภาพ เป็นข้อกำหนดหนึ่งของการดำเนินธุรกิจที่ดี ทศวรรษสุขภาพภาคประชาชน (2551)

จากออตตาวา สู่ กรุงเทพ กฎบัตรออตตาวา(2529) กฎบัตรกรุงเทพ(2548) สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน พัฒนาทักษะส่วนบุคคล ปรับเปลี่ยนบริการสาธารณสุข พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายและกฎหมายด้านสุขภาพ สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เสริมสร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร พัฒนาสมรรถนะบุคลากร ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน

บทบาทกรมวิชาการ ข้อมูล วิจัย&พัฒนา ติดตามประเมินผล คุ้มครองผู้บริโภค บริหารจัดการ จัดการความรู้ สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี ชีวีมีสุข สนับสนุนผู้ให้บริการ ข้อมูล พันธมิตรกับแหล่งทุน เฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล พัฒนากำลังคน

องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ 31 หน่วยงาน ......... 65 ล้านไทย Partner Invest Regulate Advocate Build Capacity H E A L T H

P - สร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร จุดมุ่งหมาย เกิดภาคีเครือข่ายทุกระดับและทุกมิติที่มีความเข้มแข็งและมีความสามารถเป็นกลไกผลักดันและขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน H E A L T H

ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 1.1 สร้างเสริมบทบาทและศักยภาพภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการอย่างมีส่วนร่วม เสริมสร้างความรู้ในการแก้ไขปัญหาเน้นการปฏิบัติจริง พัฒนารูปแบบ กลไก ระบบและวิธีทำงานเพื่อการมีส่วนร่วมกำหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรม สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวนภาคีเครือข่าย ร้อยละของอปท.ที่มีโครงการและงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 1.2 พัฒนาฐานข้อมูลเครือข่ายในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาฐานข้อมูลให้ถูกต้อง ทันสมัย จัดทำแผนที่(Mapping) บุคลากร หน่วยงานฯที่มีศักยภาพ ใช้ประโยชน์จากแผนที่ฯสร้างแรงจูงใจและขยายความครอบคลุมของงาน พัฒนาระบบเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ฐานข้อมูลบุคลากร หน่วยงาน องค์กร ชมรมในและต่างประเทศ แผนที่บุคลากร หน่วยงานฯที่มีศักยภาพ ช่องทางการเข้าถึงและแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์และ ต้นแบบที่ดี

I - ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน จุดมุ่งหมาย มีโครงสร้างและระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถจัดการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพโดยได้รับความร่วมมือและงบประมาณจากรัฐบาล พันธมิตรภาครัฐ เอกชนและองค์กรภาคประชาชน I - ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน H E A L T H

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 2.1 แสวงหาแหล่งทุนและบริหารจัดการทุนอย่างมีคุณภาพ แสวงหาแหล่งทุนโดยมีความรู้เกี่ยวกับหลักการ แนวทางของแหล่งทุนและวิธีการเข้าถึง วางแผนและบริหารงบประมาณมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการใช้งบประมาณ อัตราส่วนที่เพิ่มขึ้นของงบประมาณเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวนโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใช้จ่ายงบประมาณ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 2.2 พัฒนาองค์กรเป็นศูนย์กลางทางวิชาการด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโครงสร้างเฉพาะด้านของหน่วยงาน พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการ สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพ พัฒนาความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนบุคลากรและเทคโนโลยีในประเทศและต่างประเทศ จำนวน best practice model ที่นำไปขยายผลเป็นที่ยอมรับของผู้รับประโยชน์ จำนวนผลงานวิจัยและพัฒนาที่ส่งมอบให้ผู้รับประโยชน์ ระดับความพึงพอใจของผู้รับประโยชน์

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 2.3 พัฒนาระบบและกลไกการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการให้มีศักยภาพสูง พัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานครบวงจร six key functions เพิ่มประสิทธิภาพด้วยเครื่องมือที่มีคุณภาพและเหมาะสม จัดทำ/ปรับปรุงฐานข้อมูลและคลังความรู้ จัดทำแผนแม่บทการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและนำสู่การปฏิบัติ ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับส่วนราชการหรือองค์กรอื่นที่มีภารกิจคล้ายคลึงกัน มีระบบการบริหารต้นทุนและการบริหารความเสี่ยงในโครงการสำคัญ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ PMQA

R - พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายและกฎหมายด้านสุขภาพ จุดมุ่งหมาย มีนโยบายสาธารณะและกฎหมายด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับชาติและระดับท้องถิ่นที่คุ้มครองสุขภาพประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน H E A L T H

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย และกฎหมายด้านสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 3.1 สร้างนโยบายสาธารณะ และพัฒนากฎหมายให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมและวิถีชีวิตของประชาชน โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สร้างกระบวนการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัด จัดทำแผนพัฒนากฎหมายของกรมอนามัย กำหนดแนวทาง/เกณฑ์ปฏิบัติ และข้อกฏหมายบนฐานความรู้และบริบทของพื้นที่ จำนวนนโยบายสาธารณะด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวนกฎกระทรวง/ประกาศ/คำแนะนำ และเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย และกฎหมายด้านสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ส่งเสริมการออกเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น สร้างกระบวนการ ช่องทางและกลไกรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย และกฎหมายด้านสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 3.2 ส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายอย่างถูกต้องและเป็นธรรม พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานและเครือข่ายระดับพื้นที่ สร้างหลักประกันความเป็นธรรมในการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข ติดตาม กำกับ และประเมินการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข ความสำเร็จของการใช้มาตรการด้านกฎหมายสาธารณสุข

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย และกฎหมายด้านสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 3.3 จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติ(SOP) ในการสร้างนโยบายสาธารณะและการพัฒนากฎหมาย จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติในการสร้างนโยบายสาธารณะ จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติในการพัฒนากฎหมาย สร้างกระบวนการ ช่องทาง และกลไกการนำมาตรฐานฯสู่การปฏิบัติ มาตรฐานการปฏิบัติในการสร้างนโยบายสาธารณะด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรฐานการปฏิบัติในการพัฒนากฎหมายด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

A - สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จุดมุ่งหมาย ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีความรู้ ความเข้าใจในความสำคัญและประโยชน์ของการส่งเสริมสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อม สามารถดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม และมีส่วนร่วมในการลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม A - สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ H E A L T H

ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 4.1 ส่งเสริมบทบาทของสื่อชุมชนและสื่อสาธารณะในการสร้างค่านิยม “สร้างนำซ่อม” จัดทำฐานข้อมูลสื่อทุกแขนง สร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมืออันดีกับสื่อทุกแขนง เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจของสื่อในงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพิ่มขีดความสามารถในการผลิตสื่อ สารสนเทศที่ดึงดูดความสนใจของสื่อและประชาชน ฐานข้อมูลสื่อมวลชนทุกแขนง พื้นที่และช่องทางเผยแพร่ความรู้ในสื่อชุมชนและสื่อสาธารณะเพิ่มขึ้น

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 4.2 สื่อสารประชาสัมพันธ์และถ่ายทอดความรู้ด้วยวิธีการ สื่อและเทคโนโลยีที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย จัดทำแผนยุทธศาสตร์การสื่อสารสาธารณะของกรมอนามัยและนำสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม รณรงค์สื่อสารความเสี่ยงและขับเคลื่อนสังคมสุขภาพดีเพื่อสร้างความรู้ ค่านิยมและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง แผนยุทธศาสตร์การสื่อสารสาธารณะของกรมอนามัย ช่องทางและรูปแบบการสื่อสารที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ระดับความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 3. ส่งเสริมการ วิจัยและพัฒนารูปแบบการสื่อสารสองทางเน้นการมีส่วนร่วม 4. สร้างระบบเฝ้าระวังและปรับปรุงข้อมูลให้ทันสถานการณ์ 5. ผลิตและพัฒนาเนื้อหา เครื่องมือ และวิธีการถ่ายทอด 6. บริหารความสัมพันธ์และเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการ ภาคีทุกภาคส่วน

B - พัฒนาสมรรถนะบุคลากร จุดมุ่งหมาย พัฒนาบุคลากรกรมอนามัยให้มีความพร้อม ความสามารถในการปฏิบัติงานและสร้างคุณค่าต่อสังคม H E A L T H

ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 5.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรกรมอนามัยเพื่อยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานขององค์กรให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล จัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัยและนำสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จัดระบบการเรียนรู้และพัฒนาเน้นเรียนจากประสบการณ์จริง จากกรณีศึกษา coaching, mentoring, sharing แผนการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผน ระดับสมรรถนะของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐาน ระดับความพึงพอใจของบุคลากร

ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ปรับโครงสร้างการบริหารงานและบริหารบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มุ่งผลสัมฤทธิ์ เสริมสร้างระบบคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ปรับปรุงระบบสรรหา กลั่นกรองและประเมินผลบุคคลให้โปร่งใสเป็นที่ยอมรับ พัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรเพื่อสร้างขวัญกำลังใจและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 5.2 สนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย จัดทำแผนงบประมาณเพื่อสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ประสานแหล่งทุนในประเทศและต่างประเทศ สัดส่วนงบประมาณเพื่อการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 1. สร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร SYSTEM เสริมสร้างความเข้มแข็งของพันธมิตรภาคีเครือข่าย

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 2. ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน SYSTEM พัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการภาวะคุกคามทางสุขภาพ วิจัยและพัฒนา ติดตามและประเมินผล DRIVER -พัฒนาระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร -บริหารจัดการความรู้

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 3. พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายและกฎหมายด้านสุขภาพ SYSTEM - พัฒนา ผลักดัน แก้ไขกฎหมาย ระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 4. สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ SYSTEM -ขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ DRIVER -เรียนรู้และแสวงหาความต้องการของผู้รับบริการ

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 5. พัฒนาสมรรถนะบุคลากร DRIVER -วางแผนและพัฒนาทรัพยากรบุคคล -วางแผนกลยุทธ์อย่างมีส่วนร่วมและบูรณาการ

ขั้นตอนการขับเคลื่อนเพื่อการแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ วิสัยทัศน์และพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ จุดมุ่งหมาย โครงการ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย งบประมาณ การติดตามและประเมินผล เสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ในและนอกหน่วยงาน

เป้าหมายและแผนกลยุทธ์ เป้าหมายและแผนปฏิบัติการ ระดับและความสำคัญเพื่อการสื่อสารและขับเคลื่อนมุ่งสู่เป้าหมาย สื่อสารให้ภายนอกรับรู้ : ภาคี พันธมิตร ประชาชน วิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าหมาย และแผนยุทธศาสตร์ (ระดับองค์กรโดยรวม) สื่อสารให้ภายในรับรู้ : เป็นการจูงใจ เป็นแนวทาง เป็นหลักการและเหตุผล เป็นมาตรฐาน เป้าหมายและแผนกลยุทธ์ (ระดับหน่วยงาน) เป้าหมายและแผนปฏิบัติการ (ระดับกลุ่มงาน ฝ่าย บุคคล) อ้างอิงจากดร.พรเทพ พิมลเสถียร

สิ่งที่ควรคำนึงเมื่อต้องแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ พิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ต้องคำนึงถึงในการแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ อาทิ บุคลากร ระบบ ข้อมูล วัฒนธรรม โครงการ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ สร้างความเชื่อมั่นว่ายุทธศาสตร์จะสัมฤทธิผล ด้วยโครงการที่เสนอ การจัดทำข้อเสนอโครงการที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ การคัดเลือกและจัดลำดับความสำคัญของโครงการ เพื่อคัดเลือกโครงการที่ส่งผลกระทบต่อยุทธศาสตร์โดยตรง เพื่อติดตามความคืบหน้าในการดำเนินงาน และสามารถปรับตัวและแก้ไขปัญหาได้ทันต่อเหตุการณ์ การติดตามโครงการ เพื่อประเมินว่าโครงการนำไปสู่ Output/Outcome ที่ต้องการ และบรรลุตามยุทธศาสตร์หรือไม่ การประเมินผลโครงการ อ้างอิงจาก ดร.พรเทพ พิมลเสถียร

ทำ ดี คิด ดี ผล ดี