1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้ 4. ความพร้อมในภาวะฉุกเฉิน ของผู้ป่วย 5. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 6. การวางแผนจำหน่ายและการ เยี่ยมบ้าน
1. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อเมื่อมาตรวจ 2. การเฝ้าระวังการติดเชื้อของ เจ้าหน้าที่ 1. การจัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการ ดูแลผู้ป่วย 2. ความสะดวก สะอาด ปลอดภัย ของอาคารสถานที่ 3. ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย 4. การดูแลเครื่องมือ การ บำรุงรักษาเชิงป้องกัน
1. การจัดทำบัญชีความเสี่ยง พร้อมแนวทางป้องกัน 2. การรายงานอุบัติการณ์ 4. การประสานของหน่วยงาน กับทีมนำความเสี่ยง 5. วิธีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุก 3. ความเสี่ยงที่สำคัญที่เกิดใน รอบปีพร้อมการทบทวนเพื่อหา แนวทางปฏิบัติ
1. การพัฒนา / การออกแบบ เวชระเบียน 2. ความถูกต้อง สมบูรณ์ของ การบันทึกเวชระเบียน 4. การรักษาความลับในเวช ระเบียน 5. การสื่อสารระหว่างสหวิชาชีพ ในเวชระเบียน 3. การนำเวชระเบียนไปใช้ ประโยชน์ในการทบทวน