การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคไม่ติดต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปรับพฤติกรรมสุขภาพ.
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
โครงการนำเสนออย่างไรให้จูงใจสถานประกอบการ
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
การปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
Self Help Group หทัยรัฐณ์ วารินทร์ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
คู่มือปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สถานีอนามัยดงขุมข้าว ตำบล พังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดย นางสาวพัชราวลี สายบัว นางสาวนิตยา บุญศรี นางสาวพาฝัน ชายคำ นางสาวกรวิกา.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
Social Media for Education การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวคิดในการกำหนดขอบเขต และแนวทางการประเมิน ผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
สรุปการประชุม เขต 10.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
สื่อสุขภาพจิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ โทร
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
รวมใจลดพุง ถวายไท้องค์ ราชัน 84 พรรษา รวมใจลดพุง ถวายไท้องค์ ราชัน 84 พรรษา ครั้งที่ 2 6 มีนาคม 2555 เทคนิคการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ การดูแลสุขภาพเพื่อลดน้ำหนัก...
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคไม่ติดต่อ พญ.จุรีพร คงประเสริฐ 25/3/58

A Global Brief on HT ,World Health Day 2013

พฤติกรรม สุขภาพคนไทย

สิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ส่งเสริมให้เกิดภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน Obesogenic environments

กินข้างนอกบ่อยขึ้น ขนมที่หยิบฉวยง่ายในที่ทำงาน กาแฟ ขนมหน้าจอคอมพิวเตอร์ เหนื่อยจากการเดินทาง นั่งอยู่กับที่มากเกินไป ทำงานยาวเกินไป นอนหลับไม่เพียงพอ

ปรับ พฤติกรรม เปลี่ยน สุขภาพ ปรับ พฤติกรรม เปลี่ยน สุขภาพ

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็นเรื่องยาก รูปแบบพฤติกรรมที่ทำเป็นอัตโนมัติ รางวัล สิ่งกระตุ้น ทำเพราะความเคยชิน มากกว่าทำเพราะไม่รู้

การดูแลผู้รับบริการอย่างไรในการให้คำปรึกษาฯ ไม่เห็นความสำคัญ เห็นความสำคัญ แต่ยังไม่ทำอะไร ลงมือเตรียมการ แต่ยังไม่ได้ลงมือทำ เริ่มลงมือทำ แต่ยังไม่สม่ำเสมอ ทำได้สม่ำเสมอต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน 1 ทบทวนตนเอง พฤติกรรมสุขภาพและวงจรความเคยชิน ความรู้ความเข้าใจ ความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง 2 สร้างแรงจูงใจ 3 จัดทำแผนการเปลี่ยนแปลง 4 แบ่งปันประสบการณ์ สร้างแรงจูงใจ –ผลสียของพฤติกรรมเดิม ผลดีของพฤติกรรมใหม่ เป้าหมายชีวิต/อนาคต ความสัมพันธ์กับคนที่รัก

รูปแบบการให้คำปรึกษา การให้คำแนะนำแบบสั้น (Brief Advice) 5-10นาที การให้คำปรึกษาแบบสั้น(Brief Intervention) 20-30นาที การให้คำปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ 40-50นาที

คำพูดที่บอกกับตัวเอง แผนปรับพฤติกรรม เป้าหมาย สิ่งแวดล้อม คนรอบข้าง ทักษะความสามารถ คำพูดที่บอกกับตัวเอง รางวัลที่ได้รับ ทางบวก –ความอยาก ทางลบ -ความกลัว

พฤติกรรมสุขภาพ ความเคยชิน และวงจรความเคยชิน ทุกพฤติกรรมให้อะไรบางอย่าง แม้จะสร้างปัญหาสุขภาพ ความรู้อย่างเดียวมักไม่เปลี่ยนพฤติกรรม ระดับความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงของแต่ละคนไม่เท่ากัน การสร้างแรงจูงใจและแผนปรับพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรม คือหัวใจความสำเร็จ