การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคไม่ติดต่อ พญ.จุรีพร คงประเสริฐ 25/3/58
A Global Brief on HT ,World Health Day 2013
พฤติกรรม สุขภาพคนไทย
สิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ส่งเสริมให้เกิดภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน Obesogenic environments
กินข้างนอกบ่อยขึ้น ขนมที่หยิบฉวยง่ายในที่ทำงาน กาแฟ ขนมหน้าจอคอมพิวเตอร์ เหนื่อยจากการเดินทาง นั่งอยู่กับที่มากเกินไป ทำงานยาวเกินไป นอนหลับไม่เพียงพอ
ปรับ พฤติกรรม เปลี่ยน สุขภาพ ปรับ พฤติกรรม เปลี่ยน สุขภาพ
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็นเรื่องยาก รูปแบบพฤติกรรมที่ทำเป็นอัตโนมัติ รางวัล สิ่งกระตุ้น ทำเพราะความเคยชิน มากกว่าทำเพราะไม่รู้
การดูแลผู้รับบริการอย่างไรในการให้คำปรึกษาฯ ไม่เห็นความสำคัญ เห็นความสำคัญ แต่ยังไม่ทำอะไร ลงมือเตรียมการ แต่ยังไม่ได้ลงมือทำ เริ่มลงมือทำ แต่ยังไม่สม่ำเสมอ ทำได้สม่ำเสมอต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน 1 ทบทวนตนเอง พฤติกรรมสุขภาพและวงจรความเคยชิน ความรู้ความเข้าใจ ความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง 2 สร้างแรงจูงใจ 3 จัดทำแผนการเปลี่ยนแปลง 4 แบ่งปันประสบการณ์ สร้างแรงจูงใจ –ผลสียของพฤติกรรมเดิม ผลดีของพฤติกรรมใหม่ เป้าหมายชีวิต/อนาคต ความสัมพันธ์กับคนที่รัก
รูปแบบการให้คำปรึกษา การให้คำแนะนำแบบสั้น (Brief Advice) 5-10นาที การให้คำปรึกษาแบบสั้น(Brief Intervention) 20-30นาที การให้คำปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ 40-50นาที
คำพูดที่บอกกับตัวเอง แผนปรับพฤติกรรม เป้าหมาย สิ่งแวดล้อม คนรอบข้าง ทักษะความสามารถ คำพูดที่บอกกับตัวเอง รางวัลที่ได้รับ ทางบวก –ความอยาก ทางลบ -ความกลัว
พฤติกรรมสุขภาพ ความเคยชิน และวงจรความเคยชิน ทุกพฤติกรรมให้อะไรบางอย่าง แม้จะสร้างปัญหาสุขภาพ ความรู้อย่างเดียวมักไม่เปลี่ยนพฤติกรรม ระดับความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงของแต่ละคนไม่เท่ากัน การสร้างแรงจูงใจและแผนปรับพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรม คือหัวใจความสำเร็จ