การนำเสนอข้อมูล โดย นางสาวเสริมพร บุญเลิศ นักศึกษาปริญญาโท สาขาหลักสูตรและ การสอน รุ่น 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โมเดล KM star *************************

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

การแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่จบหลักสูตร งานวัดผล โรงเรียนสุราษฎร์ธานี
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
โครงการ การพัฒนาอีคอร์สใน รายวิชาศึกษาสังเกตและการมี ส่วนร่วม Development of E-course on Observation and Participation in.
นายรชต ทองสมบูรณ์ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
คุยกันก่อนเรียน สัมมนาสัตวศาสตร์ ปีการศึกษา 2551.
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
ผลการทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
Development of E-Course on Photography by Digital Camera for Mahidol University Students โครงการพัฒนาอีคอร์ส รายวิชาการ ถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอล สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อหลักสูตร หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา Bachelor of ……. Program in ………….
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ Constructionism พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงการ ภาควิชาอุตสาหกรรม โดย นางสาวบุญส่ง ศรีอนุตร์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน

ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำเสนอข้อมูล โดย นางสาวเสริมพร บุญเลิศ นักศึกษาปริญญาโท สาขาหลักสูตรและ การสอน รุ่น 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โมเดล KM star ************************* วัตถุประสงค์ เพื่อนำไปใช้พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ของศึกษา องค์ประกอบของโมเดลสตาร์ ประกอบด้วย 1. เป้าหมาย 2. วิธีการ 3. กระบวนการ มีการตรวจสอบ ยกระดับ การปรับประยุกต์

SE C I

กระบวนการของโมเดล KM star S การแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยนความรู้ กัน E การรวบรวมและเรียบเรียงข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นระบบ C การนำข้อมูลมาวิเคราะห์ I บันทึกข้อมูล 4. ดำเนินการ 5. ผลงาน - ข้อมูลที่ได้รับตรงตามเป้าหมายที่กำหนด 6. มาตรฐานงาน 7. ผลสำเร็จของงาน

ขั้นตอนการนำ โมเดล KM star ไป ใช้ แบ่งกลุ่มปรึกษาและแลกเปลี่ยนความรู้และค้นหา เป้าหมายที่ต้องการทำ KM เพื่ออะไร กำหนดวิธีการและขั้นตอนในการทำ นำกระบวนการตรวจสอบ การยกระดับ การปรับประยุกต์ เกลียวความรู้ SECI และการวัดผลประเมินผลมาใช้ ดำเนินการตามกระบวนการที่ได้ตกลงกันไว้ สังเกตและตรวจสอบผลงานที่ได้ว่าตรงตามเป้าหมาย ที่ตั้งไว้หรือไม่ มาตรฐานของงานตรงตามเป้าหมายที่กำหนด ผลสำเร็จของงานที่ได้

การนำโมเดล KM star ไปใช้ใน หน่วยงาน เป้าหมาย คือ การทำ KM เพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพของ สถานศึกษา วิธีการดำเนินการ 1. จัดตั้งคณะทำงาน และตรวจสอบข้อมูลเดิมที่มีอยู่ 2. รวบรวบข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นระบบ 3. คณะทำงานปรึกษาและแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม 4. นำรายละเอียดหลังจากที่ได้แลกเปลี่ยนนความรู้ของแต่ ละคณะทำงานมารวบรวมเป็นข้อมูล 5. นำข้อมูลที่ได้มาทำการสังเคราะห์ และเพิ่มเติมข้อมูลที่ ขาดหายไปให้สมบูรณ์ จากนั้นตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง และ บันทึกผลข้อมูลที่ได้จากการสังเคราะห์ให้เป็นระบบ 6. ประเมินผลข้อมูลที่ได้ว่าครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐาน และตรงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้เป็นผลสำเร็จของงานหรือไม่

รูปแบบโมเดล KM star ของนักศึกษาปริญญาโท สาขาหลักสูตร และการสอน รุ่น 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร **************************** *** รูปแบบโมเดล KM star นี้เกิดจากการที่ได้ ศึกษาในรายวิชา การพัฒนาสังคมแห่งการ เรียนรู้ เรื่องการจัดการความรู้ ซึ่งเมื่อได้ศึกษา แล้วพวกเราก็เกิดความคิดในการคิดรูปแบบ โมเดลเป็นของตนเองโดยการนำความรู้ที่มีอยู่ และการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่ง ความรู้ต่างๆ และได้นำความรู้นั้นมาจัดการเป็น ความรู้ใหม่ เพื่อสามารถนำไปใช้ได้จริง ถ้ามี ข้อบกพร่องประการใด ขอความกรุณาท่านผู้รู้ และผู้ที่สนใจช่วยแสดงความคิดเห็นและแนะนำ เพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม เพื่อให้รูปแบบ โมเดลของพวกเราชาวหลักสูตรและการสอน รุ่น 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีความสมบูรณ์ มากยิ่งขึ้นไป จึงขอขอบคุณมา ณ ที่นี้