ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่อง กระดาษทำการ 8 ช่อง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
อาจารย์นริสรา คลองขุด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้

อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม การใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษีของนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษี 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษี

ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 136 คน ที่เรียนวิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษี

กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ กลุ่มทดลอง นักเรียน ปวช.3 ห้อง 3 จำนวน 43 คน กลุ่มควบคุม นักเรียน ปวช.3 ห้อง 2 จำนวน 45 คน โดยวิธีจับฉลากเพื่อคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง

ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น - วิธีสอนมี 2 วิธี คือ ตัวแปรต้น - วิธีสอนมี 2 วิธี คือ 1. การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน 2. การจัดการเรียนรู้แบบปกติ ตัวแปรตาม - ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเกี่ยวกับภาษี ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย  แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน  แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชี เกี่ยวกับภาษี เรื่องภาษีเงินได้นิติบุคคล

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเกี่ยว กับภาษี เรื่องภาษีเงินได้นิติบุคคล กลุ่มทดลอง สูงกว่า กลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ข้อเสนอแนะ อาจารย์ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถเลือกแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยอาจคัดเลือกวิธีการในการจัดการเรียนรู้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อนำไปทดลองใช้กับการจัดการเยนรู้ในรายวิชาอื่นที่มีเนื้อหาในการจัดการเรียนการสอนที่สามารถนำวิธีการสอนแต่ละวิธีไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสมของรายวิชาและเนื้อหาที่แตกต่างกัน

ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ผู้วิจัยอาจทำการศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนร่วมด้วยหรือศึกษาความคงทนในการเรียนรู้หรืออาจใช้วิธีการสอนเดิมกับกลุ่มตัวอย่างอื่นเพื่อเป็นการทดสอบว่าผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากการใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานอย่างแท้จริง