การควบคุม การควบคุม (Controlling) คือกระบวนการในการติดตามและตรวจสอบกิจกรรมที่ปฏิบัติเพื่อให้แน่ใจว่าจะบรรลุผลสำเร็จตามแผน และหากมีข้อผิดพลาดก็จะสามารถดำเนินการปรับปรุงแก้ไข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

บทที่ 7 การควบคุม.
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
Lesson 10 Controlling.
ระบบการบริหารการตลาด
เพื่อรับการประเมินภายนอก
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
PDCA คืออะไร P D C A.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
หมวด2 9 คำถาม.
ระบบการผลิต ( Production System )
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารโครงการ (Project anagement)
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
บทที่ 3 Planning.
การวางผังของสถานประกอบการ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
Functional Level Strategy
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
ความหมายของการบริการ
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
หลักการเขียนโครงการ.
การเขียนโครงการ.
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การควบคุม การควบคุม (Controlling) คือกระบวนการในการติดตามและตรวจสอบกิจกรรมที่ปฏิบัติเพื่อให้แน่ใจว่าจะบรรลุผลสำเร็จตามแผน และหากมีข้อผิดพลาดก็จะสามารถดำเนินการปรับปรุงแก้ไข

The Planning-Controlling Like Planning Goals Objectives Plans Controlling Standards Measurements Comparison Actions Organizing Structure Human Resource Management Leading Motivation Leadership Communication Individual and Group Behavior

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้งานมีมาตรฐาน และช่วยให้เกิดการปฏิบัติงานถูกต้องตามแผนงานที่กำหนดไว้ 2. เพื่อทราบวิธีปฏิบัติงานว่าดีหรือมีอุปสรรคปัญหาเพียงใด 3. เพื่อให้คำแนะนำและแก้ไขปรับปรุงงานให้ดีขึ้น 4. เพื่อให้ได้คุณภาพของสินค้าหรือบริการตรงตามมาตรฐานและตอบสนองความต้องการของลูกค้า 5. เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน (ประสิทธิภาพ – ประสิทธิผล) 6. เพื่อจูงใจ และกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน

หน้าที่ของการควบคุม 1. การควบคุมด้านการเงินและงบประมาณ (Financial and Budgetary control) 2. การควบคุมการปฏิบัติการ (operations Control Production Control) 3. การควบคุมการตลาด (Marketing Control) 4. การควบคุมการวิจัยและพัฒนา (Research and Development หรือ R&D Control) 5. การควบคุมทรัพยากรมนุษย์ (Hurman Resource Control)

ประเภทของการควบคุม Input Process Out put Feedforward control Concurrent control Feedback control Corrects Problems as They happen Corrects Problems after they occure Anticipates problems

กระบวนการควบคุม 1. กำหนดเป้าหมายและมาตรฐานงาน 1. กำหนดเป้าหมายและมาตรฐานงาน ลักษณะของมาตรฐาน มีดังนี้ 1. ชัดเจน วัดผลได้ และเชื่อถือได้ 2. มีทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ (เป็นรูปลักษณ์และตัวเลข รวมทั้งเป็นศาสตร์และศิลป) 3. มีลักษณะเป็นกลาง และยึดหยุ่นได้ 4. มีความทันสมัยและสอดคล้องตามความเป็นจริง 5. สามารถระบุแนวทางหรือวิธีการแสดงมาตรฐานได้

กระบวนการควบคุม (ต่อ) ประโยชน์ของมาตรฐาน 1. ช่วยในการบริหาร เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดคุณภาพ ผลปฏิบัติงาน 2. สร้างความเข้าใจพื้นฐานภายในสำนักงาน 3. ช่วยในการประสานงานด้านความปลอดภัย 4. ลดการสูญเสียหรือสิ้นเปลือง 5. ส่งเสริมกรใช้ประโยชน์ทรัพยากรมนุษย์ได้สูงสุด 6. ช่วยทำให้งานง่ายขึ้น เพราะลดสิ่งผิดปกติหรือความสับสนในงาน 7. ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานและเกิดผลิตภาพโดยรวม 8. เกิดความสัมพันธ์อันดีภายในสำนักงาน

กระบวนการควบคุม (ต่อ) 2. การวัดงานและผลการปฏิบัติงาน วิธีการวัดงาน 2.1. ข้อมูลในอดีต (Historical data) 2.2. ตารางการทำงาน (Time log)

กระบวนการควบคุม (ต่อ) ตารางกิจกรรม วันที่............................................ ชื่อพนักงาน.............................. รหัสกิจกรรม หน่วยที่ผลิตได้ เวลา หมายเหตุ เริ่มต้น สิ้นสุด ใช้เวลา 43 10 8.20 9.10 50 นาที - 38 176 9.15 12.30 3 ชั่วโมง พัก 15 นที 33 52 13.30 14.45 1 ชั่วโมง 15 นาที 28 91 14.50 16.30 1 ชั่วโมง 22 นาที พัก 15 นาที

กระบวนการควบคุม(ต่อ) 2.3. การสุ่มตัวอย่างงาน (Sampling) 2.4. การศึกษาเวลา (Time Study) 2.5. การศึกษาการเคลื่อนไหว (Motion Study) 3. การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐาน 4. การดำเนินงานปรับปรุงแก้ไข 4.1 ปฏิบัติต่อเนื่อง 4.2 ปรับปรุงแก้ไข

กระบวนการควบคุม (ต่อ) เป้าหมายและกลยุทธ์ แผน กำหนดมาตรฐาน ลงมือปฏิบัติ เปรีบเทียบ ผลงานกับ มาตรฐาน ไม่ดี ดี ทำการปรับปรุงแก้ไข เปลี่ยนมารฐานหรือเป้าหมาย แก้ไขข้อผิดพลาด ข้อมูลย้อนกลับปฏิบัติต่อเนื่อง

ลักษณะการควบคุม 1. การควบคุมทางด้านคุณภาพ (qaulity ) 2. การควบคุมทางด้านปริมาณ( quantity) 3. การควบคุมทางด้านเวลา (Time) 4. การควบคุมทางด้านต้นทุน ( Cost)

เครื่องมือในการควบคุม 1. PERT และ CPM ติดตั้ง คู่สาย ภายนอก 7 วัน 2 วัน 8 วัน 1 วัน เริ่มต้น ซื้อ วัตถุดิบ 5 วัน วาง ฐานราก เทพื้น จัดทำ ผนัง ภายนอก 15 วัน 3 วัน 3 วัน 8 วัน 3 วัน 8 วัน จ้าง คนงาน จัดหา อุปกรณ์ และเครื่องใช้ต่างๆ ติดตั้ง ประปา ภายนอก 3 วัน 6 วัน ได้รับใบ อนุญาต ก่อสร้าง

เครื่องมือในการควบคุม(ต่อ) ฉาบปูน ทาสี ติดตั้ง โทรศัพท์ ภายใน 7 วัน 3 วัน 5 วัน 2 วัน งานเสร็จ ตกแต่ง ขั้นสุดท้าย ตกแต่ง ผนังและ ประตู 1 วัน 8 วัน 7 วัน เดินท่อประปา

เครื่องมือในการควบคุม(ต่อ) 2. ตารางเวลา และ Gantt chart 3. งบประมาณ คู่มือ (Manual) - คู่มือปฏิบัติงาน - คู่มือพนักงาน 5. เครื่องมือด้านอิเล็คทรอนิกส์ (Electronic equipment)

เครื่องมือในการควบคุม(ต่อ) วิธีจัดทำคู่มือ 1. Readable เนื้อหาอ่านง่าย ถูกต้อง 2. Illustraled กระจ่าง ครบถ้วน 3. Practical นำไปใช้ปฏิบัติได้จริง 4. Modern เนื้อหาทันสมัย จูงใจให้อ่าน

ลักษณะการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ 1. มีความถูกต้อง 1. มีความถูกต้อง 7. มีกลยุทธ์ 2. ทันเวลา 8. เน้นที่ข้อยกเว้น 3. คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ 9. กระตุ้นการควบคุมตัวเองได้ (Self Control) 4. มีความยืดหยุ่น 5. เข้าใจได้ 6. มีความสมเหตุสมผล