โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.

นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายสมชาย มูลตุ้ย ผู้วิจัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ต่อการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

ความสำคัญและความเป็นมา การบริหารจัดการมีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอน ส่วนปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอนได้แก่ ด้าน หลักสูตร ผู้สอน ปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนการสอนและผลที่ได้รับจาการศึกษา โรงเรียนได้จัดการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศมากกว่า 9 รุ่นแต่ยังไม่ได้ทำการวิจัยศึกษาผลการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ได้ข้อมูลจากนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ ณ ปัจจุบัน อันเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับนักเรียนรุ่นถัดไป

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนการสอน สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ของโรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย เครื่องมือ แบบสอบถามผ่านสื่อออนไลน์ (Face book)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลทั่วไป พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีจำนวน 24 คน ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ ชั้นปวส.1 มีจำนวน 16 คน ชั้น ปวส.2 มีจำนวน 8 คน สำหรับความตั้งใจเมื่อจบการศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศแล้ว สนใจที่จะศึกษาต่อด้านเทคโนโลยีสารสนเทศหรือสาขาที่เกี่ยวข้องด้านคอมพิวเตอร์ มีจำนวน 16 คน ประกอบอาชีพในด้านคอมพิวเตอร์ มีจำนวน 6 คน สนใจที่จะเป็นผู้ประกอบการ(สร้างกิจการของตนเอง) มีจำนวนเพียง 2 คน

ผลการศึกษาด้านหลักสูตร พบว่า เนื้อหาวิชาที่เรียนมีการฝึกปฏิบัติเพียงพอ หลักสูตรตรงกับความสนใจ หลักสูตรมีความสอดคล้องกับสภาพการเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน เนื้อหาวิชาภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมีความสอดคล้อง กับหลักสูตร เนื้อหาวิชาตรงกับความถนัด และเห็นว่าหลักสูตรควรที่จะได้รับการปรับปรุง ผลการศึกษาด้านผู้สอน พบว่า อาจารย์ประจำสาขามีความเชี่ยวชาญในวิชาที่สอนและมีวุฒิทางการศึกษาสอดคล้องกับหลักสูตร อาจารย์เข้าสอนเต็มเวลา อาจารย์ให้ความเอื้ออาทรและความปรารถนาดีต่อนักศึกษาอย่างเสมอภาคมีเจตคติที่ดีต่อนักเรียนและให้ความเป็นกันเองกับนักเรียน มีอารมณ์ขัน ทำให้นักเรียนไม่เบื่อ และมีความยุติธรรมในการประเมินผลการเรียนรู้

ผลการศึกษาด้านปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนการสอน พบว่า การจัดแผนการเรียนรายวิชาตามหลักสูตรในแต่ละภาคการศึกษา มีความเหมาะสม ด้านสื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอน สำหรับฝึกปฏิบัติ มีจำนวนเพียงพอ บรรยากาศและสภาพแวดล้อม มีความสวยงาม ปลอดโปร่ง เอื้อต่อการเรียนการสอน มีความสะอาด เรียบร้อย เป็นระเบียบ มีแสงสว่างเพียงพอ หน้าห้องเรียนมีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารใหม่ ๆ ที่ป้ายนิเทศ ประจำสาขาวิชา อยู่สม่ำเสมอ ผลที่ได้รับจากการศึกษา นักเรียนมีความรู้และทักษะอยู่ในระดับมาก นักเรียนมีความภาคภูมิใจ ที่ได้ศึกษาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความมั่นใจในความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความรู้สึกได้รับการยอมรับจากสังคมมีความภาคภูมิใจที่ได้ศึกษาในโรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป พบว่า มีผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้ที่กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 1 และ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวนทั้งสิ้น 24 คน ตอนที่ 2 เป็นการศึกษาผลการจัดการเรียนการสอน ด้านหลักสูตร นักเรียนมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรในระดับมาก ด้านอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ได้เข้าสอนเต็มเวลา มีความเอื้ออาทรและความปรารถนาดีต่อนักศึกษาอย่างเสมอภาค มีเจตคติ มีความยุติธรรมในการประเมินผลการเรียนรู้ ในด้านนี้นักเรียนมีความคิดเห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านปัจจัยที่เอื้อต่อการเรียนการสอน พบว่า จำนวนคอมพิวเตอร์ สำหรับฝึกปฏิบัติ มีจำนวนเพียงพอ ห้องเรียนมีความสะอาด เป็นระเบียบ เรียบร้อย ด้านผลที่ได้รับจากการศึกษา พบว่า นักเรียนมีความรู้และทักษะที่ได้รับจากการศึกษา อยู่ในระดับมาก นักเรียนมีความภาคภูมิใจ ที่ได้ศึกษาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความมั่นใจในความรู้