นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
Advertisements

การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์

ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ เรื่อง การคำนวณหาค่าความเค้นและความเครียดของวัสดุ โดยการใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักศึกษาระดับประกาศ-
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การแก้ไขพฤติกรรมการแต่งกาย
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
Eastern College of Technology (E.TECH)
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววรรณนิกา บุญประเสริฐ
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ การศึกษาปัจจัยและพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2555 นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

ปัญหาการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์เป็นสถานศึกษาหนึ่งที่เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรอาชีวศึกษา และการสูบบุหรี่เป็นภัยร้ายแรงที่กำลังขยายตัวเพิ่มมากขึ้นในกลุ่มนักศึกษาของวิทยาลัย ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดว่าควรจะมีการศึกษาหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ของนักศึกษาซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงสาเหตุของการสูบบุหรี่และการเลิกบุหรี่ของนักศึกษา โดยสามารถนำผลความรู้ที่เป็นประโยชน์จากการศึกษาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติให้นักศึกษาห่างไกลจากบุหรี่ เป็นการลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ลงได้ภายในวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการสูบบุหรี่ของ นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์

กรอบแนวคิดในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาปัจจัยและพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2555 เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ด้วยการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งผู้วิจัยได้กำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยดังนี้

พฤติกรรมการการสูบบุหรี่ 1. สูบบุหรี่ครั้งแรกเมื่ออายุ 2. สาเหตุที่สูบบุหรี่ครั้งแรก 3. ระยะเวลาที่สูบบุหรี่มาแล้ว 4. สาเหตุที่ทำให้สูบบุหรี่เป็นประจำ 5. จำนวนบุหรี่ที่สูบต่อเดือน 6. ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่ต่อเดือน 7. ช่วงเวลาที่สูบบุหรี่มากที่สุด ข้อมูลทั่วไป 1. อายุ 2. สาขาวิชา 3. ชั้นปีที่ศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการการสูบบุหรี่ 1. ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ 2. ปัจจัยด้านสังคม 3. ปัจจัยด้านจิตวิทยา 4. ปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติที่มีต่อการสูบบุหรี่ 1. ข้อดี 2. ข้อเสีย 3. การติดบุหรี่ 4. การเลิกบุหรี่

สรุปผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ จากการศึกษาข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยี อุตรดิตถ์ จำนวน200 คน พบว่า กลุ่มนักศึกษาที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ อันดับ 1 มีอายุ 17–19 ปี จำนวน 107 คน สาขาวิชาที่นักศึกษามีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ อันดับ 1 มี 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการบัญชีและสาขาวิชาช่างยนต์ จำนวน 75 คน ชั้นปีที่นักศึกษามีพฤติกรรมสูบบุหรี่ อันดับ 1 อยู่ในกลุ่ม ระดับชั้น ปวช. 2 จำนวน 60 คน

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของนักศึกษา ส่วนใหญ่สูบบุหรี่ครั้งแรกเมื่ออายุ 11-15 ปี สาเหตุที่สูบคือ อยากทดลองสูบ ซึ่งสูบบุหรี่มาแล้ว 1-3 ปี นักศึกษาสูบบุหรี่เป็นประจำ คือ ความเคยชิน ปริมาณในการสูบบุหรี่ที่สูบต่อเดือนคือ 1-5 ซอง ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่ต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่าง คือ 101-200 บาท ช่วงเวลาที่สูบบุหรี่มากที่สุด คือ เวลาก่อนเข้าเรียนและสาเหตุที่ทำให้ ปริมาณการสูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้น คือ การเที่ยวกลางคืนหรือสังสรรค์

2. ผลการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการสูบบุหรี่ของนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ จากการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการสูบบุหรี่ของนักศึกษาวิทยาลัย เทคโนโลยีอุตรดิตถ์ในปัจจัยด้านต่าง ๆ โดยแยกออกเป็น 4 ปัจจัยคือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยสังคม ปัจจัยจิตวิทยา ปัจจัยส่วนบุคคล

ซึ่งพบว่าปัจจัยด้านจิตวิทยามีผลต่อการสูบบุหรี่ของนักศึกษามากที่สุด ทัศนคติในการสูบหรี่ นักศึกษาส่วนใหญ่คิดว่า การสูบบุหรี่ทำลายสุขภาพ ของตน ทำลายสุภาพของคนรอบข้างและเป็นที่รังเกียจของสังคม อีกมุมมองหนึ่งของนักศึกษาคิดว่าการสูบบุหรี่นั้นช่วยผ่อนคลาย ความเครียดได้ และร้อยละ 91 ของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างจาก 200 คน คิดจะเลิกสูบบุหรี่ เนื่องจากคนรอบข้างขอร้องให้เลิก และสุขภาพ ของตัวเองแย่ลง

ขอบคุณที่ไม่สูบบุหรี่ ......สวัสดีครับ......