เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เศรษฐกิจ พอเพียง.
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
เศรษฐกิจพอเพียง.
อิทธิบาท 4 เพื่อพัฒนาอารมณ์และจิตใจของวัยรุ่น
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร ) รหัสวิชา ง 414
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
สมัยโชมอน.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การเชื่อมโยงความสัมพันธ์
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ปฏิรูปที่ดิน ปฏิรูปเกษตรกร Management reform
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
เกษตรทฤษฎีใหม่.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การปลูกพืชผักสวนครัว
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การดำเนินงานยุวเกษตรกรอย่างไร ให้ประสบผลสำเร็จ
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
เป็นเกษตรกรรมที่นำเอาหลักการ ความยั่งยืนถาวรของระบบป่า ธรรมชาติ มาเป็นแนวทางในการทำ การเกษตร ไม้ ผล ไม้ใช้สอย ต่างๆ สัตว์
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร

วนเกษตรคืออะไร คำว่า “วน” แปลว่า เกษตร ตามความหมายทางพุทธศาสนาหมายถึงดิน วนเกษตรจึงหมายถึงการใช้ดินทำประโยชน์ให้เกิดสภาพป่า พูดกันเป็นภาษาวิชาการว่าการจัดระบบนิเวศน์คือการสร้างความสมดุลให้กับธรรมชาติ

วนเกษตร (Agroforesty farming) เป็น เกษตรกรรมที่นำเอาหลักการความยั่งยืนถาวรของระบบป่าธรรมชาติ มาเป็นแนวทางในการทำการเกษตร ให้ความสำคัญเป็นอย่างสูงกับการปลูกไม้ยืนต้น ไม้ผล และไม้ใช้สอยต่าง ๆ ให้เป็นองค์ประกอบหลักของไร่นา ผสมผสานกับการปลูกพืชชั้นล่างที่ไม่ต้องการแสงแดดมาก หรือได้อาศัยร่มเงา และความชื้นจากการที่มีพืชชั้นบนขึ้นปกคลุม รวมทั้งการจัดองค์ประกอบการผลิตทางการเกษตรให้มีความหลากหลายชนิดของพืชและ สัตว์ คำ ว่า “วนเกษตร” ถูกใช้มาก่อนหน้านี้ โดยนักวิชาการและหน่วยงานด้านป่าไม้ โดยให้ความหมายที่มีนัยของการทำป่าไม้ผสมผสานร่วมกับการปลูกพืชและเลี้ยง สัตว์ ทั้งนี้ วนเกษตรเป็นที่รู้จักกว้างขวางในสังคมไทย จากการบุกเบิกของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม เมื่อปลายทศวรรษที่ 2520 อันเนื่องมาจากประสบการณ์ชีวิตที่ประสบกับปัญหาความล้มเหลวจากการทำ เกษตรกรรมเชิงเดี่ยวในเชิงพาณิชย์ครั้งแล้วครั้งเล่า ทำให้ท่านตัดสินใจขายที่ดินส่วนใหญ่ เพื่อนำไปชำระหนี้สิน แล้วใช้พื้นที่เล็ก ๆ ที่เหลืออยู่เพียงไม่กี่ไร่ แปรสภาพไร่มันสำปะหลังเป็นระบบวนเกษตร ปลูกไม้ยืนต้น และพืชสมุนไพรผสมผสานกัน และมีวิถีชีวิตที่พึ่งตนเองได้ ปรัชญาและ ประสบการณ์ชีวิตของเกษตรกรท่านนี้ เป็นส่วนหนึ่งที่หล่อหลอมให้เกิดแนวความคิดเกษตรกรรมทางเลือก เกษตรกรรมยั่งยืนในสังคมไทยต่อมา

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และภูมิคุ้มกัน 2.เพื่อเกื้อกูลการผลิตให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 3.เพื่อป้องกันและควบคุมสภาพแวดล้แม 4.เพื่อใช้ที่ดินเสื่อมโทรมและพื้นที่ขนาดเล็กให้ได้ผลผลิตสูงขึ้น 5.เพื่อความรื่นรมย์

รูปแบบของวนเกษตร มีอยู่ 3 ระบบ คือ 1 รูปแบบของวนเกษตร มีอยู่ 3 ระบบ คือ             1. ระบบปลูกป่า- นาไร่ ( Agrisylvicultural system) มีความแตกต่างเพราะการปลูกพืชกสิกรรมและการปลูกป่านั้น เป็นการทำการเกษตรในที่ดินอันเป็นของรัฐ และรัฐยังถือว่าไม้ที่ปลูกนั้นเป็นของรัฐ นอกจากพืชกสิกรรมเท่านั้นที่จะเป็นของราษฏร             2. ระบบปลูกป่า- หญ้าเลี้ยงสัตว์ ( Sylvopastoral system ) เป็นการผลิตปศุสัตว์มารวมกับการปลูกป่า กระทำทั้งในลักษณะของการปลูกป่าเพื่อใช้ส่วนต่างๆ ของต้นไม้เพื่อการเลี้ยงปศุสัตว์ เพื่อหวังประโยชน์จากไม้โดยตรง หรือการปลูกหญ้าเสริม หรือการเลี้ยงปศุสัตว์ในสวนป่า ปศุสัตว์ช่วยในการกำจัดหญ้า             3. ระบบเลี้ยงสัตว์-ปลูกป่า-นาไร่ ( Agrosylvopastoral system) ระบบที่มีตัวแปร หรือปัจจัยอยู่รวมกันถึงสามอย่างถือว่าเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างประณีต ปัจจัยทั้งสามอย่างที่ว่ามานี้หากสภาพการณ์ต่างๆเหมาะสมและสมบูรณ์แล้วก็ไม่ เป็นปัญหาต่อการทำงาน             ข้อเด่นของวนเกษตร มีอยู่ 2 ประการหลัก กล่าวคือ                     1) การอยู่ร่วมกันของพื้นที่ป่ากับการเกษตร                     2) การเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ

คณะผู้จัดทำ 1.นายอิทธิพล พรมมา เลขที่ 6 2.นางสาวกานต์นลิน มีศรีสุข เลขที่ 8 3.นางสาวชิษณุฎา ศรีสุข เลขที่11 4.นางสาวฐิติชญา ไหวพริบ เลขที่ 14 5.นางสาวเบญญาภา ธงสิบสอง เลขที่ 22 6.นางสาวพรรษกมล แสนบ่อ เลขที่ 27 7.นางสาววิภาวรรณ สร้อยสูงเนิน เลขที่ 32 8.นางสาวสิดาพร ประสุทธิ์ เลขที่ 34 9.นางสาวสิริรัตน์ อมฤทธิ์ เลขที่ 35 10.นางสาวเก็จมณี กวางกระโดด เลขที่44 11.นางสาวมนัสนันท์ เชาว์ปัญญานนท์ เลขที่49 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/12 เสนอ คุณครูจิรประภา ไตรกิตติคุณ โรงเรียนนารีรัตน์จังหวัดแพร่