คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
5.2 การวัดตำแหน่งของข้อมูล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
บทที่2 การแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions)
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
ความน่าจะเป็น (Probability)
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
บทที่ 1 อัตราส่วน.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Graphical Methods for Describing Data
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
ครูที่นักเรียนอยากได้
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
คุณสมบัติการหารลงตัว
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
(Descriptive Statistics)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
ชื่อเรื่อง. ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มอ่อน
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.2 ปีการศึกษา 2557
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จากฮิสโทแกรม แสดงค่าใช้จ่าย ต่อเดือนของ นักเรียน จงตอบคำถาม ต่อไปนี้
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 สถิติ

ค่ากลางของข้อมูล

มัธยฐานของข้อมูล ที่แจกแจงความถี่ มัธยฐานของข้อมูล ที่แจกแจงความถี่

ความถี่สะสม ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นใด คือ ผลบวกของความถี่ของค่านั้นหรืออันตรภาคชั้นนั้น กับความถี่ของค่าหรืออันตรภาคชั้นที่มีช่วงคะแนนต่ำกว่าทั้งหมด หรือสูงกว่าทั้งหมดอย่างใดอย่างหนึ่ง

อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม รวม 30 1 + 3 + 11 + 23 + 27 + 30

อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม รวม 75

หลักการหามัธยฐานจากตารางแจกแจงความถี่ 1. สร้างตารางช่องความถี่สะสมเพิ่ม 2. หาตำแหน่งที่มัธยฐานอยู่โดยใช้สูตร เมื่อ N คือจำนวนข้อมูลทั้งหมด

3. นำค่าที่ได้จากข้อ 2 มาพิจารณาในช่องความถี่สะสม 4. ค่าจุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้นที่ ตำแหน่งมัธยฐานอยู่ คือ ค่าโดยประมาณของมัธยฐานนั้น

จงหามัธยฐานจากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้

คะแนน ความถี่ รวม 20

คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม รวม 20 3 7 13 18 20

หาตำแหน่งที่มัธยฐานอยู่ ตำแหน่งที่มัธยฐานอยู่ จากสูตร วิธีทำ ตำแหน่งที่มัธยฐานอยู่

คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม รวม 20 3 7 13 18

นั่นคือ มัธยฐานจะอยู่ตำแหน่งที่ 10 นั่นคือ มัธยฐานจะอยู่ตำแหน่งที่ 10.5 ในช่องความถี่สะสม แต่ตำแหน่งที่ 10.5 จะอยู่ในชั้น 3 ซึ่งตรงกับ 6 คะแนน ค่ามัธยฐาน = 6 คะแนน

จงหามัธยฐานจากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้

คะแนน ความถี่ รวม 30

คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม รวม 30 2 7 15 25 28 30

หาตำแหน่งที่มัธยฐานอยู่ ตำแหน่งที่มัธยฐานอยู่ จากสูตร วิธีทำ ตำแหน่งที่มัธยฐานอยู่

คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม รวม 30 2 7 15 25 28

นั่นคือ มัธยฐานจะอยู่ตำแหน่งที่ 15 นั่นคือ มัธยฐานจะอยู่ตำแหน่งที่ 15.5 ในช่องความถี่สะสม แต่ตำแหน่งที่ 15.5 จะอยู่ในอันตรภาคชั้น 10 - 12 ซึ่งมีจุดกึ่งกลางชั้นคือ 11 คะแนน ค่ามัธยฐานโดยประมาณ = 11 คะแนน

ความถี่สะสม รายได้/วัน (บาท) ความถี่ รวม 50 60 - 65 3 66 - 71 7 72 - 77 6 78 - 83 15 84 - 89 10 90 - 95 5 96 - 101 4

อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม รวม 132

พบกันใหม่วันพรุ่งนี้ เรื่อง สถิติ (ต่อ)