พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Eng ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการขันติ โสรัจจะ รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย ผู้วิจัยต้องการศึกษา.
Advertisements

ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1

วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
เรื่อง ความพึงพอใจของสถานศึกษาต่อ คุณสมบัติที่พึงประสงค์ของ ผู้สำเร็จ การศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ ชื่อผู้วิจัย นางสาว เยาวลักษณ์ ดีเหลือ.
การมีส่วนร่วมของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 ในกิจกรรม ของโรงเรียนกรุงเทพการบัญชี วิทยาลัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชี วิทยาลัย นางสาวโสภา.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์


นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน

พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อวิชากิจกรรมการจัด ตกแต่งดอกไม้ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ชั้นปีที่ 3 กลุ่ม A31 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557.
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู

การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.

คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรทางการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานเทคโนโลยี

การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน

นางสาววรันธร ปรุงเรณู
นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
นางสาวเยาวลักษณ์ อินทร์ศรี สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

ปัญหาการวิจัย วิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีของสื่อสังคมออนไลน์หลากหลายประเภท ได้แก่ เว็บบล็อก (Weblog) หรือเรียกสั้นๆ ว่า บล็อก (Blog เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social networking sites) เช่นFace book, My space และ hi5 เว็บไซต์สำหรับแบ่งปันวีดิโอ (Video-sharing sites) และผลงาน เช่นYou tube เว็บประเภท Micro blog เช่น Twitter วิกิ (Wikis) และโลกเสมือน เช่น Second life และ World

ปัญหาการวิจัย จากผลการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว และมีบทบาทอย่างมาก โดยเฉพาะกับกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ที่นิยมรับเทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่เสมอ มีทั้งข้อดี และข้อเสียในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาเกี่ยวกับการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ รวมถึงศึกษาความพึงพอใจที่นักศึกษา มีต่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ และนำข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงและวางแผนการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ต่อไป

วัตถุประสงค์งานวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายทางสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ 2. เพื่อศึกษาทัศนคติการใช้เครือข่ายทางสังคมออนไลน์ ของนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ

ตารางสรุปสำคัญ

ตารางสรุปสำคัญ(ต่อ) การศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของนักศึกษา รายการ จำนวน ร้อยละ 1. นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้สถานที่เข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์บ่อยที่สุด คือ บ้าน/หอพัก 358 คน 68.19 2. ระยะเวลาที่นักศึกษาเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์/ครั้ง มากที่สุด คือ 1-2 ชั่วโมง 201 คน 38.29 3. ช่วงเวลาที่นักศึกษาเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นประจำ เวลา 16.01น. - 22.00 น. 271 คน 51.62 4. จำนวนครั้งที่นักศึกษาเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อวัน คือ 5 - 6 ครั้ง/วัน 251 คน 47.81 5. สื่อสังคมออนไลน์ที่นักศึกษาเลือกใช้งานเป็นประจำ คือ Line 305 คน 50.10

ตารางสรุปสำคัญ (ต่อ) การศึกษาทัศนคติการเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา นักศึกษามีทัศนคติการเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา โดยภาพรวม ระดับความคิดเห็นมีความเห็นด้วย (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.31 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.58)

สรุปผลการวิจัย สภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมดมีจำนวน 525 คน เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 63.23 และเป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 38.66 ส่วนใหญ่มีอายุ ระหว่าง 17-18 ปี คิดเป็นร้อยละ 34.09 กำลังศึกษาอยู่ระดับชั้น ปวช.1 มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 32

สรุปผลการวิจัย(ต่อ) การศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของนักศึกษา นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้สถานที่เข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์บ่อยที่สุด คือ บ้าน/หอพัก จำนวน 358 คน คิดเป็นร้อยละ 68.19 ระยะเวลาที่นักศึกษาเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์/ครั้ง มากที่สุด คือ 1-2 ชั่วโมง จำนวน 201 คน คิดเป็นร้อยละ 38.29 ช่วงเวลาที่นักศึกษาเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นประจำ เวลา 16.01น. - 22.00 น. จำนวน 271 คน คิดเป็นร้อยละ 51.62 จำนวนครั้งที่นักศึกษาเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อวัน คือ 5 - 6 ครั้ง/วัน จำนวน 251 คน คิดเป็นร้อยละ 47.81 สื่อสังคมออนไลน์ที่นักศึกษาเลือกใช้งานเป็นประจำ คือ Line จำนวน 305 คน คิดเป็นร้อยละ 58.10

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) การศึกษาทัศนคติการเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา นักศึกษามีทัศนคติการเข้าใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา โดยภาพรวม ระดับความคิดเห็นมีความเห็นด้วย (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.31 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.58)