การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ช่วงตั้งครรภ์ “สร้างพ่อแม่ คุณภาพ” “ปลูกฝังภูมิคุ้มกันทั้งทางกายและใจ” ช่วงทารก (แรกเกิด – 3 ปี) “ ปลูกฝังวินัยเชิงบวกและ เข้าถึงบริการ ศูนย์เด็กเล็กที่ได้ มาตรฐาน” ช่วงอนุบาล (3 – 6 ปี) ช่วงประถม (6 – 12 ปี) “พัฒนาทักษะชีวิต” ช่วงวัยรุ่น (12 – 18 ปี) “รู้รักห่วงใยตนเอง” ช่วงเยาวชน (18 – 25 ปี) “สร้างจิตอาสา พัฒนาสังคม” ช่วงวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) “สร้างความมั่นคงด้านการงาน ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ช่วงผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) “สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ด้านผู้ด้อยโอกาส จุดเน้นการดำเนินงาน ผู้ด้อยโอกาส 5 กลุ่ม 9,656,354 คน - คนยากจน 8,800,000 คน ร้อยละ 91.13 (สศช. 2554) - ผู้ไม่มีสถานะทาง ทะเบียนราษฎร์ 342,708 คน ร้อย ละ 3.55 (มท. 2556) - ผู้ติดเชื้อเอดส์/ ผู้ป่วย 276,947 คน ร้อยละ 2.90 (สำนัก ระบาดวิทยา 57 -55 . กรม ควบคุมโรค ) - ผู้พ้นโทษ/ผู้ถูกคุม ประพฤติ 203,559 คน ร้อยละ 2.11 (กอง สังคมสงเคราะห์ กรม ราชทัณฑ์ งปม.56) - คนเร่ร่อน/ไร้ที่พึ่ง 33,140 คน ร้อยละ 0.34 (บ้าน มิตรไมตรี มูลนิธิอิสระชน 56) กลไก : คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ นายกรัฐมนตรี : ประธาน พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 พึ่งตนเองได้ ได้รับการยอมรับ เข้าถึงสิทธิ มีส่วนร่วมในการพัฒนา ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส พ.ศ.2556-2559 กลไก : สภาพัฒนาสังคมภาคประชาชน เครือข่ายภาคประชาสังคม (ผู้นำชุมชนในเขต กทม.) จุดเน้นการดำเนินงาน ส่งเสริมการจัดตั้งกลไก/ศูนย์คุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง โดยชุมชนมีส่วนร่วม การพัฒนาระบบคุ้มครองสิทธิของผู้ด้อยโอกาส ส่งเสริมศักยภาพองค์กรพัฒนาเอกชน
แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ด้านผู้ด้อยโอกาส - การจัดตั้งกลไก/ศูนย์คุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส/ไร้ที่พึ่ง - พัฒนาระบบคุ้มครองสิทธิ - ส่งเสริมศักยภาพ NGO การดำเนินงาน - อปท. ร่วมจัดตั้งศูนย์คุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส/คนไร้ที่พึ่ง ซึ่งมีหน้าที่ 1. สำรวจติดตามสภาพและปัญหาของผู้ด้อยโอกาส 2. ให้การช่วยเหลือ คุ้มครองเบื้องต้น 3. ประสานส่งต่อให้ได้รับบริการสวัสดิการสังคมและสิทธิขั้นพื้นฐาน - ศึกษา พัฒนาข้อเสนอเพื่อการปรับปรุง กม. ระเบียบที่เป็นอุปสรรค - ผลักดันการบูรณาการ โดย กสค. เช่น การเข้าถึงกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กองทุนสวัสดิการชุมชน ของผู้ด้อยโอกาส สิทธิการทำงาน สิทธิการรักษาพยาบาล ฯลฯ - สนับสนุนเงินอุดหนุน - พัฒนาศักยภาพการทำงานกับผู้ด้อยโอกาส - ส่งเสริมกิจการเพื่อสังคม (SE) เป้าหมาย - ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน และบริการสวัสดิการสังคม - การพัฒนากระแสหลักมีการดำเนินงานที่คุ้มครองกลุ่มคนที่มีความเปราะบางด้วย ข้อมูลจากอิธ
ประเด็นที่ต้องการให้ขับเคลื่อนเชิงนโยบาย การขยายผลการนำมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติที่ครอบคลุมทั่วประเทศ การส่งเสริมความเข้มแข็งของสภาเด็กและเยาวชนทุกระดับ การผลักดันกลไกการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสระดับชาติ ภายใต้ กสค. การสร้างหลักประกันรายได้เพื่อวัยสูงอายุ การเตรียมความพร้อมประชากรเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ