โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
กรมอนามัย กับ ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
Pass:
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว หมายถึง โรงพยาบาลที่มีการจัดระบบริการที่ได้มาตรฐานตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด การเลี้ยงดูบุตรแรกเกิด ถึง 5 ปี โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบบริการ ซึ่งมุ่งหวังให้ แม่-ลูกปลอดภัยจากการตั้งครรภ์ และการคลอด ลูกได้รับการเลี้ยงดูให้มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย

วัตถุประสงค์ 1.บูรณาการ และเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการอนามัย แม่และเด็กในสถานบริการ ครอบครัว และชุมชน (Integrated Care) 2.พัฒนาองค์ความรู้ และระบบการบริการอนามัยแม่และเด็ก ที่มีมาตรฐาน อย่างต่อเนื่อง( Continuum of Care)

ระบบคุณภาพโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด/หลังคลอด คลินิกสุขภาพเด็กดี  ฝากครรภ์คุณภาพ - ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ - คัดกรอง Thal / HIV  โรงเรียนพ่อแม่  อาหาร และโภชนาการ ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย  รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก  โรงเรียนพ่อแม่  คลินิกนมแม่  คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  WCC คุณภาพ  โรงเรียนพ่อแม่  ตรวจพัฒนาการเด็ก  โภชนาการ  นิทาน ของเล่น  ทันตสุขภาพ  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชน ชมรมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ / ชมรมแม่อาสา/ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ผลลัพธ์ ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ปีละ ร้อยละ 0.5(ไม่เกินร้อยละ 7) เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน เพิ่มขึ้นจากฐานข้อมูลเดิม ปีละ ร้อยละ 2.5 (ร้อยละ 25) เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่า 90 %

โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ผลลัพธ์สุขภาวะแม่และเด็ก • ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 : พันการเกิดมีชีพ • ทารกแรกเกิดน้ำหนัก น้อยกว่า 2,500 กรัม ลดจากฐานข้อมูลเดิมปีละ ร้อยละ 0.5(ไม่เกินร้อยละ 7) • เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่าง เดียว 6 เดือนเพิ่มขึ้นจาก ฐานข้อมูลเดิมปีละร้อยละ 2.5 (ร้อยละ 25) • เด็กแรกเกิด – 5 ปี พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90 ระบบบริการคุณภาพ • ฝากครรภ์คุณภาพ / โรงเรียนพ่อแม่ • คลินิกนมแม่ / มุมนมแม่ • โรงพยาบาลลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย • โรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่ลูก การมีส่วนร่วมชุมชน • ชมรมแม่อาสา / เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว กระบวนการคุณภาพ • PDCA / ADLI • Risk management • Team work • LO/KM

เป้าหมาย 1. โรงพยาบาลรัฐ และเอกชน ร้อยละ 80 เข้าร่วมโครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว 2. โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับทองอย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง

โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เกณฑ์ประเมิน  เข้าร่วมโครงการ บริการอนามัยแม่และเด็ก  ระดับทองแดง กระบวนการคุณภาพ และระบบบริการคุณภาพ  ระดับเงิน ระดับทองแดง และ การมีส่วนร่วมของชุมชน  ระดับทอง ระดับเงิน และผลลัพธ์บริการ

ขั้นตอน การประเมิน โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว MCH Borad ระดับจังหวัดพิจารณาส่ง รพ. เข้าร่วมโครงการฯ และแจ้งศูนย์อนามัย และกรมอนามัย ขั้นตอน การประเมิน กรมอนามัยส่งพระบรมฉายาลักษณ์ 3 พระองค์ สสจ. ทุก รพ. พัฒนาคุณภาพบริการอนามัยแม่และเด็ก ทุก รพ. ประเมินตนเอง ผ่านระดับ..แจ้งทีมประเมินจังหวัด ไม่ผ่านพัฒนาระบบส่วนที่ขาด ประสาน MCH Board พัฒนาระบบบริการคุณภาพ อบรม ทีมประเมินระดับจังหวัด ประเมิน รพช. ทุกแห่ง รพ. ประเมินตนเอง เมื่อพร้อมแจ้งทีม จังหวัดเข้าประเมิน ผ่านระดับ................................ ไม่ผ่าน แจ้งผลเพื่อปรับปรุง และแจ้งประเมินซ้ำ ผลการประเมิน ส่งผลให้ทีมศูนย์อนามัยประเมิน รพศ./รพท. และสุ่ม รพช. ทีมส่วนกลางพิจารณาผล/ สุ่มประเมิน และประกาศผล แจ้งกลับศูนย์ฯ และจังหวัด ทีมศูนย์อนามัยตัดสินระดับทองแดงและเงิน แจ้งผลจังหวัด และส่งแบบประเมินระดับทองให้กรมอนามัย รพ. ผ่านระดับทองรับโล่ห์ รพ. ผ่านระดับทองแดง, ระดับเงินรับประกาศเกียรติคุณ

โครงสร้างระบบกำกับ ติดตามโครงการฯ คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพ โรงพยาบาลสายใยรักฯ คณะอนุกรรมการกำกับ ติดตาม ระดับเขต 19 เขตตรวจราชการ คณะทำงาน จัด ทำข้อเสนอ เพื่อการกำกับติดตามโครงการ ฯ

การกำกับ ติดตาม เป้าหมายหลักการ กำกับ ติดตาม สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก การบริหารจัดการ (MCH.board) ผลงานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ปัญหาและกระบวนการแก้ไขปัญหา

โรงพยาบาล สายใยรัก แห่งครอบครัว รับพระราชทาน พระบรมฉายาลักษณ์ โรงพยาบาลจัดระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก ผ่านมาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักฯส่ง ก1 ก2 ผ่านมาตรฐานระดับ ทองแดงและชุมชนร่วม กลุ่มสนับสนุนนมแม่ในชุมชน ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ศูนย์เด็กเล็กนมแม่ ทองแดง ร่วมโครงการ ระดับเงิน โรงพยาบาล สายใยรัก แห่งครอบครัว ผ่านมาตรฐานระดับเงิน และบรรลุผลลัพธ์ ทารกขาดออกซิเจน 30:1,000เกิดมีชีพ ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัมลดลง ปีละ0.5% (ไม่เกิน7%) นมแม่อย่างเดียว 6 เดือนเพิ่มขึ้นปีละ 2.5% (ร้อยละ 25) เด็กมีพัฒนาการสมวัย 90%(อนามัย49) ระดับทอง

โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัย โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เป้าหมาย พ.ศ. 2550 (%) ตัวชี้วัดหลัก : เด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย(อนามัย49) 90 ตัวชี้วัดผลผลิต: 1. โรงพยาบาลรัฐและเอกชนสมัครเข้าร่วมโครงการโรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว 2. โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว - ระดับทองแดง - ระดับเงิน - ระดับทอง ผลลัพธ์ BA ไม่เกิน 30 : พันการเกิดมีชีพ LBW ลดลงร้อยละ 0.5(หรือไม่เกินร้อยละ 7) นมแม่ 6 เดือน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.5 (ร้อยละ25) เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 90 3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 4. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ 5. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย 6. หญิงตั้งครรภ์ได้รับเกลือไอโอดีน 7. หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และบุตรได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ 8. แม่หลังคลอดได้รับการติดตาม ช่วยเหลือเพื่อเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (โทรศัพท์ เยี่ยมบ้าน) 9. ทารกแรกเกิดได้การตรวจคัดกรองธัยรอยด์ 80 - จังหวัดละ 1 โรง 100 50 โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัย

โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัย โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว เป้าหมาย พ.ศ. 2550 (%) ตัวชี้วัดผลผลิต : 10. เด็กได้รับการประเมินพัฒนาการโดยเจ้าหน้าที่ 11.เด็กอายุ 6เดือน - 3 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก 12. พ่อ/แม่/ผู้เลี้ยงดูเด็กอายุ9-12 เดือนได้รับการสอนและสาธิตการ แปรงฟัน 13. เด็กที่มีภาวะพร่องธัยรอยด์ได้รับฮอร์โมน 14. เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีที่เกิดจากแม่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ได้รับนมผสม 15. โรงพยาบาลมีชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว 16. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างน้อย จาก ANC, LR PP ,WCC ,Lab ,สจ. ได้รับการอบรมงานอนามัยแม่และเด็ก 17. มีทีมเฝ้าระวังการละเมิด code นมแม่ 18. MCH board มีการประชุมและนำข้อมูลวางแผนแก้ไขปัญหาแม่ และเด็ก ทุกคน 560,000 คน 50 100 โรงพยาบาลละ 1 ชมรม ทุกโรง พยาบาล และสสจ. จังหวัดละ 1ทีม ทุก 4 เดือน โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัย

สรุปผลการออกติดตามประเมินผล ตั้งแต่ 29 ม.ค.51-31 ม.ค.51 ทุกโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการมีการพัฒนาเพื่อให้ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวแต่ยังมีบางประเด็นที่ยังไม่ผ่านดังนี้

1.ผู้บริหาร/หัวหน้าของหน่วยงานที่รับการประเมิน 1.3 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1.4 การเก็บข้อมูลและการประชุมวิเคราะห์ สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก 1.5 ระบบเครือข่ายในการดูแลกำกับติดตาม มารดาและทารก 1.6 การสนับสนุนให้มีการสร้างเครือข่ายชมรมฯ

2.ผลลัพธ์สถานะภาพสุขภาพแม่และเด็ก 2.2 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม 2.3 เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

3.กระบวนการบริการคุณภาพ ห้องฝากครรภ์ 9. มีการให้ความรู้ตามกระบวนการโรงเรียน พ่อแม่อย่างน้อย 1 ครั้ง ทารกแรกเกิด 1.การดูแลอุณหภูมิกาย ตึก/ห้องหลังคลอด 7.ไม่ให้ทารกดูดหัวนมยาง/ปลอม/หลอก

3.กระบวนการบริการคุณภาพ คลินิกส่งเสริมสุขภาพ 2.มุมส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 4.มีการวิเคราะห์และวางแผนบริการ 5.กำหนดวันให้บริการและมีการประชาสัมพันธ์ 6.มีการให้ความรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ 11.มีการนำข้อมูลเสนอในที่ประชุม MCH Board

ปัญหาและอุปสรรค 1.การประสานงานภายในองค์กรยังไม่ครอบคลุม 2.ขาดงบประมาณในการดำเนินการ 3.มีข้อจำกัดเรื่องพื้นที่ดำเนินการ 4.ขาดบุคลากรทำให้บางประเด็นทำไม่ได้ตามเกณฑ์ 5.เกิดจากกลุ่มเป้าหมายไม่พร้อม หรือไม่ให้ความ ร่วมมือ เช่น การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

แนวทางแก้ไข 1.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานโครงการ สายใยรัก 2.จัดประชุมคณะทำงานเพื่อหาแนวทางแก้ไข 3.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล

แนวทางแก้ไข สวัสดี 1.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานโครงการ สายใยรัก 2.จัดประชุมคณะทำงานเพื่อหาแนวทางแก้ไข 3.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล