ความวิตกอย่างหนึ่งของคนที่เป็นครู คือ อยากให้ลูกศิษย์ที่เรา กำลังสอนนั้น เกิดการเรียนรู้ การเรียนรู้ไม่ได้ หมายถึงการที่เขาตอบ คำถามที่เราถามได้เท่านั้น แต่หมายถึงการที่ เขารู้ว่าสิ่งที่เขากำลัง เรียนคืออะไร สามารถใช้ความรู้ที่มีอยู่แล้วมา เชื่อมโยงกับความรู้ ใหม่ที่เรากำลังสอนหรือไม่ และสามารถนำ สิ่งที่เราสอนไป ประยุกต์ใช้กับสถานะการณ์อื่นๆ ได้หรือไม่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ ผู้เรียนต้องทำเอง ครูไม่สามารถจะทำให้เขา ได้ สิ่งที่ครูจะทำได้ คือ ต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำสิ่งดังกล่าว โดยสร้างบรรยากาศการ เรียนที่เอื้อกับสิ่งเหล่านี้การสร้างบรรยากาศ ในการเรียนเพื่อช่วยให้ ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ คือ ต้องทำให้ผู้เรียน เรียนอย่าง กระตือรือร้น (active learning)
และตระหนักว่าตนกำลังเรียนอะไรอยู่ ครูจะ สามารถสร้างบรรยากาศแบบนี้ได้จาก การ จัดชั้นเรียน การสร้างแบบเรียนและกิจกรรม ในห้องเรียน และการหาเครื่องมือที่จะช่วย ให้ผู้เรียนได้พูดถึงสิ่งที่เรียนออกมาเพื่อจะ ได้รับรู้ว่าตัวเขาเองกำลังทำอะไรอยู่ ส่วน ผู้เรียนในระดับชั้น ปวส.1 สาขาคอมพิวเตอร์ ปัญหาในการเรียนรู้ที่พบมากคือไม่ส่งงาน ตาม ระยะเวลาที่ครูกำหนดทำให้เกิดปัญหา ด้านการเรียนการสอน ครูจึงควรร่วมกันฝึก ผู้เรียนให้ตระหนักถึงความสำคัญ กระบวนการการเรียนรู้จะช่วยให้เขามีความ มั่นใจที่จะเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต (life-long learning) โดยสร้างแรงจูงใจในการส่งงาน โดยการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกร ของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส ) ชั้นปีที่ 1 สาขางานคอมพิวเตอร์
เพื่อสร้างแรงจูงใจในการส่งงาน โดย ใช้การเสริมแรง
แปรต้น ตัวแปร ตาม การ เสริมแรง พฤติกรรมการ ส่งงาน
ประชากร นักศึกษาชั้น ปวส. ปีที่ 1 สาขางาน คอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2554 จำนวน คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยใช้ประชากรที่มีปัญหาเป็นกลุ่ม ตัวอย่าง จำนวน 5 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบ บันทึกพฤติกรรมใน การส่งงาน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพื่อศึกษา เจต คติที่มีต่อความ รับผิดชอบในตนเอง ความขยันอดทน ทางการเรียนและแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ทางการเรียน ของ นักศึกษา ระดับชั้น ปวส.1 กลุ่ม 1,2 นักศึกษา สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต โดย ดำเนินการดังนี้ การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยนำ เครื่องมือที่สร้างขึ้น มา บันทึกพฤติกรรมการส่งงานของนักศึกษา ปวส.1 สาขา คอมพิวเตอร์
จากการสังเกตพฤติกรรมการส่งงาน โดย การให้แรงเสริมด้วยเบี้ย อรรถกรนักศึกษาระดับ ปวส. 1 กลุ่ม 1,2 นักศึกษาสาขา คอมพิวเตอร์ จำนวน 5 คน มีการพัฒนา ตนเองได้ดีขึ้น มีความ รับผิดชอบมากขึ้น เรื่อย ๆ ส่วนคนที่ดีอยู่ แล้ว ก็ทำงานเรียบร้อย มากยิ่งขึ้น จากการใช้การเสริมแรงด้วยเบี้ย อรรถกรสังเกตได้ว่า ตั้งแต่ใบงานชิ้นที่ 1 จนถึงใบงานชิ้นที่ 10 นักศึกษาทั้ง 5 คน มี พฤติกรรมการส่งงานที่ดีขึ้นเป็นลำดับ
ลำดั บ รายชื่อ - นามสกุล ห้องเรี ยน ส่งใบ งาน ครั้งที่ 1 ( 5 ชิ้น ) ส่งใบ งาน ครั้งที่ 2 ( 5 ชิ้น ) หมาย เหตุ 1. นายกรีซัล หวัง นุรักษ์ คธ งานส่ง 2 ครั้ง จำนวน 10 ชิ้น 2. นายจิรายุทธ คุชรัตน์ คธ นายมติธร ไชย การ คธ นายฐิติ ฟูจิตต์คธ นายอาฟีซี ยาสคธ