3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

ความหมายของโครงงาน.
Dr.Smira Chittaladakorn
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom Research
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
การวางแผนและการดำเนินงาน
แนะนำวิทยากร.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
PDCA คืออะไร P D C A.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การติดตาม และประเมินโครงการ.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
การวิจัยในชั้นเรียน ครูบรรจุใหม่
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การเขียนรายงานการวิจัย
การประเมินผลในวิจัยชั้นเรียน
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีการคิดวิเคราะห์.
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
เชื่อมโยง MRCF & R2R การอบรมวิทยากรประจำเขตด้านการวิจัย
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การวิจัยในงานประจำ.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การสังเคราะห์ (synthesis)
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์

ความรู้ การสร้างความรู้ ๒ แนว งานสำเร็จ/บรรลุเป้าหมาย วิจัย KM ความ ปัญหา วิจัย ความรู้ KM ความ สำเร็จ การสร้างความรู้ ๒ แนว หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์

การวิจัย หมายถึงกระบวนการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ด้วยวิธีการที่เป็นระบบหรือวิธีการที่ เชื่อถือได้ หมายถึงการค้นคว้าหาคำตอบ ข้อสงสัย หรือปัญหาอย่างมีระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบ/ความรู้ที่เชื่อถือได้

ความรู้ใหม่ หมายถึงอะไร หมายถึง การอภิปรายเชื่อมโยงกับองค์ ความรู้ที่เคยมีมา เช่น จากผลงาน วิจัยในอดีต ทฤษฎีที่มีอยู่ ภูมิปัญญาที่มีอยู่แล้ว

เชื่อถือได้ หมายถึงอะไร หมายถึง ข้อมูลที่ได้มาจาก เครื่องมือวัดที่ได้ค่า Validity, Reliability และ Objectively Validity ของเครื่องมือวัด คือ ข้อมูลจากเครื่องมือ ตรงกับที่ต้องการ Reliability ของเครื่องมือวัด คือ ข้อมูลจากเครื่องมือสม่ำเสมอ คงเส้นคงวา ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลาและสถานที่ Objectively ของเครื่องมือวัด คือ ข้อมูลจากเครื่องมือวัด ใครจะตรวจให้คะแนน ตีความก็ได้ค่าเท่ากัน

อะไร เรียกว่าวิจัย องค์ประกอบ หรือ Component ที่เรียกกันเรียกว่า วิจัย ประกอบด้วย 1.การระบุปัญหาที่ต้องวิจัย(Research Problem) 2.การรวบรวมข้อมูลที่เชื่อถือได้ (Methodology) 3.การอภิปราย โดยเชื่อมโยงกับความรู้เดิม (Discussion)

วัตถุประสงค์การวิจัย เครื่องมือเก็บข้อมูล สงสัย/ไม่มีคำตอบ ข้อมูล ตัวเลข ไม่ใช่ตัวเลข ตัวหนังสือ คำพูด ภาพ ~เปรียบเทียบ ~ความหมาย ~หาเหตุผล ~หาความสัมพันธ์ ~จัดหมวดหมู่ โจทย์/คำถาม + - × ÷ วัตถุประสงค์การวิจัย ข้อมูล วิธีการได้ข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ได้คำตอบโจทย์ สร้างความรู้ นำไปพัฒนางาน ทดลอง จัดเวที สังเกต สัมภาษณ์ สำรวจ PRA/PAR ฯลฯ เครื่องมือเก็บข้อมูล แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก mind map การประชุมกลุ่ม หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

การพัฒนา (Development) การพัฒนา คือ การทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือการดำเนินการเพื่อทำให้ดีขึ้น

ลำดับขั้นของการพัฒนา ขั้นที่ 1 กำหนดเป้าหมายของการพัฒนา ขั้นที่ 2 ประเมินสภาวะเบื้องต้น ขั้นที่ 3 กำหนดรูปแบบการพัฒนา ขั้นที่ 4 ประเมินผลการพัฒนา

การวิจัยและพัฒนา การพัฒนารูปแบบหนึ่งที่ใช้การวิจัยเป็นเครื่องมือโดยผู้วิจัย หาวิธีหรือนวัตกรรมมาแก้ปัญหา/ปรับปรุง/พัฒนางานที่รับผิดชอบ

อย่างไร 1. กำหนดปัญหา 2. กำหนดนวัตกรรม 3. ทดลองใช้ 4. สรุป 1. ด้วยวิธีการที่เป็นระบบ 1. กำหนดปัญหา 2. กำหนดนวัตกรรม 3. ทดลองใช้ 4. สรุป

Plan Act Observe และ Reflect + Revise อย่างไร 2. ด้วยวิธีการทำงานตามวงจร PAOR ของ Kemmis Plan Act Observe และ Reflect + Revise

3. การวางแผนการ แก้ปัญหา P = Plan 1. การกำหนดปัญหา 2. การกำหนดนวัตกรรม 3. การวางแผนการ แก้ปัญหา

A = Act การดำเนินการตามแผน ที่วางไว้ การลงมือปฏิบัติจริง

การวัดผล / การเก็บรวบรวมข้อมูล O = Observe การวัดผล / การเก็บรวบรวมข้อมูล

การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ R = Reflect + Revise การสะท้อนผล การสรุปผล การแลกเปลี่ยนประสบการณ์

กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร 1.แต่ละท่านช่วยตอบคำถาม 4 ข้อ ลงในกระดาษ โดยแต่ละข้อขอให้ได้คำตอบ 5 คำตอบ 5 เหตุผลที่เจ้าหน้าที่ไม่ทำ/ไม่อยากทำวิจัย 5 เหตุผลที่งานวิจัยไม่เป็นที่ยอมรับ/ไม่ได้นำไปใช้ 5 เงื่อนไขที่จะทำให้งานวิจัยประสบผลสำเร็จเร็ว 5 ข้อเสนอต่อการดำเนินงานวิจัยส่งเสริมการเกษตร กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์

กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร 2. แบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่มแต่ละกลุ่ม สรุปคำตอบรวมเป็นของกลุ่ม 3. แต่ละกลุ่มนำเสนอผลของกลุ่ม หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์ กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

R2R (Routine to Research) คืออะไร การวิจัยที่ดำเนินการโดยผู้ปฏิบัติงานประจำนั้นๆ โจทย์วิจัยมาจากงานประจำ เพื่อแก้ไขปัญหา/พัฒนางานประจำ ผลลัพธ์ดูที่ผลต่อ “ลูกค้า” การนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ – ใช้พัฒนางานประจำ การทำ Routine Development ให้มีข้อมูล/หลักฐานอ้างอิงได้ (Evidence-Based) เครื่องมือพัฒนาคน

10 “ไม่” ใน R2R 1. “ไม่”ใช่ระเบียบวิธีวิจัยใหม่ 2. “ไม่”ใช่งานวิจัยขึ้นหิ้ง 3. “ไม่”ใช่งานวิจัยที่ทำคนเดียว ควรทำร่วมกับทีมที่รับผิดชอบเพราะเป้าหมายอยู่ที่การพัฒนางาน 4. “ไม่”จำกัดอยู่เฉพาะงานวิชาการอย่างเดียว งานด้านบริหารก็นำ R2R ไปพัฒนาได้ 5. “ไม่”จำกัดเฉพาะคนที่มีความรู้เกี่ยวกับงานวิจัย คนที่ไม่เคยทำงานวิจัยก็ทำได้

6. “ไม่”ได้เริ่มจากความอยากทำวิจัย แต่ควรเริ่มจากใจที่อยากพัฒนางานที่รับผิดชอบให้ดีขึ้น 7. “ไม่”ควรเริ่มด้วยการอบรมระเบียบวิธีการวิจัยและสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล แต่ควรเริ่มจากการค้นหาปัญหาในงานประจำที่รับผิดชอบร่วมกันของทีมงาน และผ่านการวิเคราะห์อย่างเหมาะสม 8. “ไม่”ต้องการทุนวิจัยหรืองบประมาณจำนวนมาก 9. “ไม่”ได้วัดผลที่จำนวนผลงานวิจัย 10. “ไม่”ใช่ผลงานวิจัยชั้นสอง แต่งานวิจัย R2R ต้องแม่นยำและเชื่อถือได้ คือเชื่อถือได้ทั้งกระบวนการเก็บข้อมูลและการแปลผล

ทำให้งานเป็นเครื่องมือสู่ความสุข ปัญญา และไมตรี R2R : หวังผลอะไร พัฒนางานประจำ พัฒนาคนที่อยู่หน้างาน พัฒนาองค์กร วัฒนธรรมองค์กร สู่องค์กรเรียนรู้ องค์ความรู้ขององค์กร ยกระดับขึ้น ทำให้งานเป็นเครื่องมือสู่ความสุข ปัญญา และไมตรี