การส่งเสริมความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
การพัฒนาความสามารถในการจำศัพท์และการเขียน ภาษาอังกฤษโดยการใช้กิจกรรมผังความสัมพันธ์ทาง ความหมาย สำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางพรทิพย์ วิริยะโพธิการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง

----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ผู้เสนอ นายทนงศักดิ์ กุลเสนชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวประพันธ์ศรี สมจันทร์ฉาย
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การใช้แนวการสอนภาษาที่เน้นคำศัพท์เพื่อส่งเสริมความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ ความสามารถทางการอ่านและแรงจูงใจของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ Use of Lexical.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
นางสาวพรสุดา ดอกบัว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดฝึกทักษะการอ่านออกเสียงของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ และเจตคติเชิงบวกของนักศึกษา โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย Use of Computer Multimedia Program to Promote English Grammar Knowledge and Positive Attitudes of The Second Year Diploma Student นายสุชาติ กองกูล วิทยาลัยเทคโนโลยี โปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา นักเรียนที่เข้ามาเรียนในวิชานี้มีพื้นฐานความรู้ด้านไวยากรณ์ต่ำกว่าเกณฑ์ นักเรียนมีทัศนคติด้านลบกับรายวิชาภาษาอังกฤษ มีความเห็นว่า ภาษาอังกฤษเรียนไปแล้วแต่ไม่ได้นำเอาไปใช้เกี่ยวกับวิชาชีพของตนเอง แนวโน้มของเทคโนโลยีการศึกษาในอนาคตจึงตกอยู่กับ สื่อคอมพิวเตอร์นั่นเอง โดยเฉพาะบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และสื่อมัลติมีเดียซีดีรอมเพื่อการศึกษา การให้ผู้เรียนเล่นและเรียนโดยอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่นคอมพิวเตอร์นั้น ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเพลิดเพลิน และสามารถควบคุมทิศทางการเรียนรู้ของตนได้ การสนุกอย่างมีสติ หรือมีสติแล้วสนุกด้วย

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การสอนภาษาอังกฤษโดยใช้โปรแกรม (English Discovery ) เป็นโปรแกรมที่มีความพร้อมทั้งทางด้านเทคโนโลยี ด้านเนื้อหาและด้านเทคนิคการเรียนภาษาอังกฤษที่ถูกต้อง เหมาะสมกับธรรมชาติ ของการเรียนภาษาต่างประเทศ พร้อมด้วยระบบบริหารการจัดการและการติดตามผล อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถฝึกทักษะทางภาษาได้ครบทุกทักษะ ของ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และโครงสร้างไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ

วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของผู้เรียนก่อนและหลังเรียนโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เพื่อเปรียบเทียบเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษของผู้เรียนก่อนและหลังเรียนโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย

แนวคิด ทฤษฏี การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ลักษณะและองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย 1. วีดิทัศน (Video) เป็นสื่อที่สามารถแสดงผลไดทั้งภาพเคลื่อนไหว และเสียง 2. เสียง (Sound) เสียงจะถูกบันทึกและเก็บไวในรูปแบบดิจิทัล สามารถนํามาเลนซ้ำได 3. ตัวอักษร (Text) รวมทั้งตัวเลขและสัญลักษณพิเศษตาง ๆ ซึ่งมีรูปแบบ ขนาด และสี 4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เป็นการนําภาพกราฟกมาทําใหมีการเคลื่อนไหว 5. ปฏิสัมพันธ (Interactive) เป็นการที่ผูใชสามารถโตตอบสื่อสารกับโปรแกรมมัลติมีเดีย 6. ภาพนิ่ง (Still images) ไดแกภาพที่ไมมีการเคลื่อนไหว

นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 ปี กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 ปี การศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (ทค. 5101) จำนวน 32 คน ตัวแปรต้น ได้แก่ การสอนภาษาอังกฤษโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถด้านไวยากรณ์และ เจตคติต่อวิชาภาษาอังกฤษ

ขั้นตอนการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมูล วัดความสามารถด้านไวยากรณ์และเจตคติต่อวิชาภาษาอังกฤษก่อนการทดลอง 2. ดำเนินการทดลองตามแผนการสอน 3.วัดความสามารถด้านไวยากรณ์และเจตคติต่อวิชาภาษาอังกฤษหลังการทดลอง

สรุปผลการวิจัย ความรู้ด้านไวยากรณ์ จำนวนนักศึกษา คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน ก่อนทำการเรียนการสอน 32 50 24.40 6.56 หลังการทำการเรียนการสอน 33.71 7.15

สรุปผลการวิจัย เจตคติต่อวิชาภาษาอังกฤษ จำนวนข้อ คะแนนเต็ม ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน ก่อนทำการเรียนการสอน 10 5 3.17 0.91 หลังการทำการเรียนการสอน 4.77 0.69

อภิปรายผลการศึกษา การเรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านไวยากรณ์ และ มีเจตคติต่อวิชาภาษาอังกฤษสูงขึ้นเนื่องจากเหตุผลบางประการดังต่อไปนี้ เป็นสิ่งแปลกใหม่เร้าใจสำหรับผู้เรียนเนื่องจากเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะศึกษาเรียนรู้ และสนุกกับการเรียน การเรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เป็นการตอบสนองต่อความสามารถในการเรียนรู้เฉพาะบุคคล การเรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เป็นการเรียนรู้โดยการสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียน สามารถกำหนดการเรียนรู้ของตนเองได้