โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

คณิตศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ดิน(Soil).
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ข้อมูลผลผลิตของสบู่ดำ
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
การผลิตคะน้าแบบไว้ตอ
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
การส่งเสริมลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว ปี 2553
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
จัดทำโดย นางสาวนูรีฮา อามะ
ตารางที่ ข้อมูลผลผลิต รายได้ ต้นทุน และ สัดส่วนรายได้ต่อการลงทุน (BCR) ในผลผลิต บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ปี
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
การเจริญเติบโตของพืช
มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย ชาเชียงราย โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย

หลักคิด 1. เกษตรกรใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมมีเหตุมีผล 2. เปลี่ยนค่านิยมของเกษตรกร จากการผลิตที่ต้องการผลผลิตสูงอย่างเดียวให้กลับมาคำนึงถึงเรื่องต้นทุนและกำไรเป็นหลัก 3. ผู้ผลิตและผู้บริโภคปลอดภัยจากสารพิษ 4.รักษาสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศ

หลักวิชา 1. การลดต้นทุนการผลิตโดยไม่มีผลกระทบต่อคุณภาพและปริมาณผลผลิต 2. การใส่ปุ๋ย โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ 3. การใช้พันธุ์และการขยายพันธุ์ 4. การจัดการดูแลรักษาที่มีประสิทธิภาพ

หลักปฏิบัติ 1. การเตรียมดิน เนื่องจากชาเป็นพืชที่ต้องปลูกในพื้นที่สูงมีความลาดเท อากาศหนาวเย็นจึงจะได้ผลผลิตที่ดี ดังนั้นต้องมีการปรับพื้นที่แบบขั้นบรรได เพื่อสะดวก ในการเก็บเกี่ยว การดูแลรักษาและยังช่วยในการฉะล้างและพังทลายของผิวหน้าดิน กรณีที่ฝนตกหนัก 2. การใช้พันธุ์และการขยายพันธุ์ - ชาจีน ใช้พันธุ์ชาจากแหล่งที่เชื่อถือ เทคนิคการลดต้นทุน คือ ตัดชำเอง 3 – 4 เดือน แล้วนำไปปลูก - ชาอัมสัม ใช้เมล็ดเพาะเพื่อให้ได้ต้นพันธุ์ที่มีรากแก้ว อายุ 8 – 12 เดือน นำไปปลูก

3. การปลูก ใช้ระยะปลูก ระหว่างแถว 1. 7 เมตร ระหว่างต้น 0 3. การปลูก ใช้ระยะปลูก ระหว่างแถว 1.7 เมตร ระหว่างต้น 0.75 เมตร จะได้ต้นชา 1,200 ต้น/ไร่ การใส่ปุ๋ยบำรุงดินเพื่อให้ต้นชาสมบูรณ์ - ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก โดยผลิตเอง สามารถลดต้นทุนได้ถึง 20 % โดยนำเศษวัชพืชหรือฟางข้าวสับมากองรวมกันนำปุ๋ยคอก ( ขี้วัว ขี้หมู)โรยบนกอง รดน้ำให้ชุ่ม ใช้ พด.1 ผสมน้ำราดทับ ครบ 7 วัน พลิกกอง ทำ 2 -3 ครั้ง เศษวัสดุจะย่อยสลายนำมารองก้นหลุมก่อนปลูก - ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 และยูเรีย ใส่ 3 ครั้ง / ปี ช่วงเดือน พ.ค. ก.ย. และม.ค. โดยเริ่มใส่เมื่อ ปลูกชาเข้า ปีที่ 2 ใช้ ยูเรีย 1 ส่วน 15-15-15 ใช้ 4 ส่วน / ไร่ ใช้ลดลงหากมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์มากขึ้น สามารถลดการใช้สารเคมีได้ถึง 50 %

5. การดูแลรักษาชา 5.1 ตัดหญ้า ปีละ 4 ครั้ง 5.2 โรค - แมลง ควรหมั่นตรวจสอบหากตรวจพบเกินระดับเศรษฐกิจให้ใช้สารอินทรีย์หรือสารเคมีฉีดพ่นในปริมาณที่เหมาะสม 5.3 การให้น้ำ ใช้ระบบสปิงเกอร์ ให้น้ำในปริมาณที่เหมาะสม 5.4 การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยว 5 – 7 ครั้ง / ปี ผลผลิตเฉลี่ย/ครั้ง 200 กก. 5.5 ควรมีการตัดแต่งกิ่ง พรวนดินใส่ปุ๋ย และให้น้ำหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต

ต้นทุนการผลิต / ไร่ ปลูกระยะ 1.75 /.75 เมตร จะได้ชา 1,200 ต้น ปลูกระยะ 1.75 /.75 เมตร จะได้ชา 1,200 ต้น ค่าเตรียมดิน - ค่าไถ 2,800 บาท - ขุดหลุม,ปลูก 480 บาท ค่าพันธุ์ - พันธุ์ชาจีน ( ปักชำเอง ) ต้นละ 2 บาท 1,200 ต้น 2,400 บาท - ชาอัมสัม ใช้เมล็ดเพาะเพื่อให้ได้ต้นพันธุ์ที่มีรากแก้ว อายุ 8 – 12 เดือน นำไปปลูก เมล็ดพันธุ์ กก.ละ 1,500 บาท สามรถเพาะกล้าได้ 3,000 ต้น ค่าปุ๋ยคอก ( ทำเอง) 1,100 บาท ปุ๋ยเคมี ใช้ลดลงหากมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์มากขึ้น สามารถลดการใช้สารเคมีได้ถึง 50 % ไร่ละ 720 บาท ระบบน้ำ ใช้ระบบสปริงเกอร์ ไร่ละ 4,000 บาท ค่าปฎิบัติดูแลรักษา ไร่ละ 3,000 บาท รวม 12,300 บาท

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม ครูติดแผ่นดิน 1.นายจำเริญ ชีวันเฉลิมโชติ โทร.08-18834875 2.นายชาญชัย ชีวันวรกุล โทร. 08-96356288 3.นางเหม่ยลิง จู โทร.081-8849088 4.นายสุชาติ ชีวันมงคลวุฒิ โทร..0869203259 5.นายเต้อยิง แซ่แซ้ โทร.08-50384737 6.นายสุนันต์ตา แซ่จู๊ โทร.08-69112589 7.นายหนุ่ม เจริญดี โทร.- 8.นายมนัญชัย เฉลิมพรเกษม โทร. 086-117565 9.นายจีระ แซ่ซึง โทร.089-5609966