บทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

กลุ่มปลาดาว.
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
การค้ามนุษย์.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
การแถลงนโยบายผู้บังคับบัญชา
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ชี้แจงการ ประชุมกลุ่ม โดย แพทย์หญิงวรยา เหลืองอ่อน สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ - กลุ่มภาครัฐ - รัฐวิสาหกิจ - ภาคเอกชน 3 กลุ่ม.
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
กลุ่มที่ 3 เรื่องงานด้านการดูแล รักษาผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
Participation : Road to Success
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
ข้อเสนอ เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข สู่ความเป็นเลิศด้านสุขภาพ กลุ่มนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 27 ตุลาคม 2551.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
ความคาดหวังของเขตสุขภาพต่อการดำเนินงานสุขภาพจิตในพื้นที่
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
การประชุมสมัชชาคุ้มครอง ผู้บริโภคสื่อ วันที่ ๒๖ – ๒๗ เมษายน พ. ศ. ๒๕๕๓.
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ บทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ 30 เมษายน 2549

จุดเริ่มต้น 26 กันยายน 2545 “ รวมพลคนเดือดร้อนจากบริการสุขภาพ ” ที่ มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม ( มอส. ) จัดโดย มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

โครงสร้างปัจจุบัน ประกอบด้วย ที่ปรึกษา แพทย์ / นักกฎหมาย / นักวิชาการ ที่ปรึกษา แพทย์ / นักกฎหมาย / นักวิชาการ คณะทำงาน แกนนำของสมาชิกฯ สมาชิก ผู้เสียหายทางการแพทย์เท่านั้น

สมาชิก สมาชิกปัจจุบัน มีจำนวนมากกว่า 300 คน และมีเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ทั้งใน กทม. และต่างจังหวัด

จำแนกกลุ่มสมาชิก ยุติแล้ว ( ในชั้นเจรจา และคดีจบ ) คดีอยู่ในศาล ยังขอเวชระเบียนไม่ได้ ยังไม่กล้าดำเนินการ – กังวลเรื่องชื่อเสียง ขอยุติเรื่อง – ท้อ / กลัวถูกฟ้องกลับ

กลไกการทำงาน เป็นระบบอาสาสมัคร ไม่มีค่าตอบแทน

บทบาท ภารกิจ รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำปรึกษาในการแก้ปัญหา บทบาท ภารกิจ รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำปรึกษาในการแก้ปัญหา ให้ความช่วยเหลือ - ทั้งในทางคดี และในการดำเนินชีวิต

ขั้นตอนและกระบวนการทำงาน รับเรื่องร้องทุกข์ ตรวจสอบข้อเท็จจริง / ดูเรื่องอายุความ รวบรวมเอกสาร – เวชระเบียนสำคัญที่สุด แต่ได้มายากที่สุด ( แจ้งความ / พรบ. ข้อมูลข่าวสาร ) - ส่งเอกสารให้คณะที่ปรึกษาพิจารณา ( รอตามคิว )

ขั้นตอนฯ ( ต่อ ) หากมีมูล แนะนำให้เจรจากันเองก่อน เครื่อข่ายจะไม่เกี่ยวข้อง หากสำเร็จ เรื่องยุติ หากเจรจาไม่สำเร็จ แนะนำให้ร้องเรียนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฟ้องต่อสาะรณชน เตือนภัย กระตุ้นให้หน่วยงาน / กลไกปกติ ปรับปรุงการทำงาน และเป็นบทเรียน เพื่อหยุดปัญหาที่จะเกิดใหม่ ฟ้องศาล เป็นทางเลือกสุดท้าย หากการร้องเรียนไม่เป็นผล

กิจกรรมอื่นๆ นำเสนอบทเรียน ประสบการณ์ ในงานวิจัยทางวิชาการต่างๆ ร่วมเคลื่อนไหว ผลักดัน ในประเด็น สถานการณ์ที่เกี่ยวข้อง ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีต่างๆ ร่วมผลักดันข้อเสนอเชิงนโยบาย

ผลจากการดำเนินงาน แพทย์มีความระมัดระวังในการดูแลรักษามากขึ้น เวชระเบียนละเอียด และอ่านง่ายขึ้น วงการแพทย์ได้ให้ความสำคัญกับปัยหามากขึ้น เช่น - เกิดเวทีสมานฉันท์ - เกิดแนวคิดเรื่องกองทุนชดเชยความเสียหายฯ

ผลกระทบ ถูกมองเป็นศัตรู ถูกข่มขู่ คุกคาม ( เผาบ้าน ) / ที่ปรึกษาถูกทำร้ายร่างกาย / เสียสุขภาพจิต ถูกฟ้องกลับ ถูกปฏิเสธการรักษา ได้รับการรักษาแบบ Over treatment

ปัญหาและอุสรรค ถูกมองว่าเป็นกลุ่มผลประโยชน์ ถูกนำไปแอบอ้างเรียกรับผลประโยชน์

ข้อเสนอเชิงนโยบาย แก้กฎหมายให้ผู้ป่วยขอสำเนาเวชระเบียนได้ทันที ให้มีองค์กรกลาง ประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ายที่เชื่อถือได้ - เป็นอนุญาโตตุลาการ - พิสูจน์ ถูก – ผิด

ข้อเสนอ ( ต่อ ) ให้มีกองทุนชดเชยความเสียหาย จากการพิสูจน์ถูก-ผิด นำความผิดพลาดเป็นบทเรียนสอน แพทย์ – ผู้ป่วย ต้องดำเนินโครงการ Patient for patient’s safety ตามที่ WHO มีนโยบาย กำหนดคุณสมบัติของกรรมการแพทยสภา - ต้องไม่เป็นเจ้าของโรงพยาบาลเอกชน หรือดำเนินธุกิจด้านบริการสุขภาพ รัฐบาลต้องสนับสนุน ดูแล สร้างขวัญและกำลังใจ ให้แก่บุคคลากรทางการแพทย์ของรัฐ