บทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ บทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ 30 เมษายน 2549
จุดเริ่มต้น 26 กันยายน 2545 “ รวมพลคนเดือดร้อนจากบริการสุขภาพ ” ที่ มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม ( มอส. ) จัดโดย มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
โครงสร้างปัจจุบัน ประกอบด้วย ที่ปรึกษา แพทย์ / นักกฎหมาย / นักวิชาการ ที่ปรึกษา แพทย์ / นักกฎหมาย / นักวิชาการ คณะทำงาน แกนนำของสมาชิกฯ สมาชิก ผู้เสียหายทางการแพทย์เท่านั้น
สมาชิก สมาชิกปัจจุบัน มีจำนวนมากกว่า 300 คน และมีเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ทั้งใน กทม. และต่างจังหวัด
จำแนกกลุ่มสมาชิก ยุติแล้ว ( ในชั้นเจรจา และคดีจบ ) คดีอยู่ในศาล ยังขอเวชระเบียนไม่ได้ ยังไม่กล้าดำเนินการ – กังวลเรื่องชื่อเสียง ขอยุติเรื่อง – ท้อ / กลัวถูกฟ้องกลับ
กลไกการทำงาน เป็นระบบอาสาสมัคร ไม่มีค่าตอบแทน
บทบาท ภารกิจ รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำปรึกษาในการแก้ปัญหา บทบาท ภารกิจ รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำปรึกษาในการแก้ปัญหา ให้ความช่วยเหลือ - ทั้งในทางคดี และในการดำเนินชีวิต
ขั้นตอนและกระบวนการทำงาน รับเรื่องร้องทุกข์ ตรวจสอบข้อเท็จจริง / ดูเรื่องอายุความ รวบรวมเอกสาร – เวชระเบียนสำคัญที่สุด แต่ได้มายากที่สุด ( แจ้งความ / พรบ. ข้อมูลข่าวสาร ) - ส่งเอกสารให้คณะที่ปรึกษาพิจารณา ( รอตามคิว )
ขั้นตอนฯ ( ต่อ ) หากมีมูล แนะนำให้เจรจากันเองก่อน เครื่อข่ายจะไม่เกี่ยวข้อง หากสำเร็จ เรื่องยุติ หากเจรจาไม่สำเร็จ แนะนำให้ร้องเรียนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฟ้องต่อสาะรณชน เตือนภัย กระตุ้นให้หน่วยงาน / กลไกปกติ ปรับปรุงการทำงาน และเป็นบทเรียน เพื่อหยุดปัญหาที่จะเกิดใหม่ ฟ้องศาล เป็นทางเลือกสุดท้าย หากการร้องเรียนไม่เป็นผล
กิจกรรมอื่นๆ นำเสนอบทเรียน ประสบการณ์ ในงานวิจัยทางวิชาการต่างๆ ร่วมเคลื่อนไหว ผลักดัน ในประเด็น สถานการณ์ที่เกี่ยวข้อง ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเวทีต่างๆ ร่วมผลักดันข้อเสนอเชิงนโยบาย
ผลจากการดำเนินงาน แพทย์มีความระมัดระวังในการดูแลรักษามากขึ้น เวชระเบียนละเอียด และอ่านง่ายขึ้น วงการแพทย์ได้ให้ความสำคัญกับปัยหามากขึ้น เช่น - เกิดเวทีสมานฉันท์ - เกิดแนวคิดเรื่องกองทุนชดเชยความเสียหายฯ
ผลกระทบ ถูกมองเป็นศัตรู ถูกข่มขู่ คุกคาม ( เผาบ้าน ) / ที่ปรึกษาถูกทำร้ายร่างกาย / เสียสุขภาพจิต ถูกฟ้องกลับ ถูกปฏิเสธการรักษา ได้รับการรักษาแบบ Over treatment
ปัญหาและอุสรรค ถูกมองว่าเป็นกลุ่มผลประโยชน์ ถูกนำไปแอบอ้างเรียกรับผลประโยชน์
ข้อเสนอเชิงนโยบาย แก้กฎหมายให้ผู้ป่วยขอสำเนาเวชระเบียนได้ทันที ให้มีองค์กรกลาง ประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ายที่เชื่อถือได้ - เป็นอนุญาโตตุลาการ - พิสูจน์ ถูก – ผิด
ข้อเสนอ ( ต่อ ) ให้มีกองทุนชดเชยความเสียหาย จากการพิสูจน์ถูก-ผิด นำความผิดพลาดเป็นบทเรียนสอน แพทย์ – ผู้ป่วย ต้องดำเนินโครงการ Patient for patient’s safety ตามที่ WHO มีนโยบาย กำหนดคุณสมบัติของกรรมการแพทยสภา - ต้องไม่เป็นเจ้าของโรงพยาบาลเอกชน หรือดำเนินธุกิจด้านบริการสุขภาพ รัฐบาลต้องสนับสนุน ดูแล สร้างขวัญและกำลังใจ ให้แก่บุคคลากรทางการแพทย์ของรัฐ